Page 52 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 52

1-50 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

2. 	คุณคา่ ข​ อง​การ​ใช​้เครอ่ื ง​มอื ​แนะแนว

       การใ​ชเ้​ครื่องม​ ือแ​ นะแนวท​ ีพ​่ ัฒนาห​ รือท​ สี่​ ร้างข​ ึ้นน​ ัน้ ไม่ใชเ​่ ป็นแ​ หลง่ ข​ อ้ มลู แ​ หล่งเ​ดียวท​ นี​่ ำม​ าใ​ชศ้​ ึกษา​
พฤติกรรมม​ นุษย์ใ​นท​ ุก​แง่​ทุก​มุม เป็น​เพียง​เครื่องม​ ือ​ที่น​ ำ​มา​ใช้​วัด​พฤติกรรมม​ นุษย์เ​พียง​ช่วง​ระยะ​เวลา​หนึ่ง​
เทา่ นัน้ ทัง้ นเี​้ พราะว​ า่ เครือ่ งม​ อื แ​ นะแนว โดยเ​ฉพาะแ​ บบท​ ดสอบ หรอื แ​ บบว​ ดั ต​ า่ งๆ ทสี​่ รา้ งข​ ึน้ ห​ รอื พ​ ฒั นาข​ ึน้ น​ ัน้
เป็น​เพียง​การ​วัด​กลุ่ม​ตัวอย่าง​ของ​พฤติกรรม​เท่านั้น ไม่​สามารถ​จะ​วัด​พฤติ​กร​รม​ทุกๆ อย่าง​ของ​มนุษย์​
พร้อมๆ กัน​ได้ ดัง​นั้น นัก​แนะแนว​จะ​ต้อง​เข้าใจ​ถึง​ข้อ​จำกัด​ของ​การ​ใช้​เครื่อง​มือ​แนะแนว​แต่ละ​ชนิด หรือ​
ข้อจ​ ำกัดข​ อง​การ​ใช้แ​ บบท​ ดสอบ เพื่อ​ที่จ​ ะไ​ด้น​ ำข​ ้อมูลท​ ี่​ได้​จากก​ าร​วัดโ​ดย​ใช้เ​ครื่องม​ ือ​หรือแ​ บบ​ทดสอบ​ต่างๆ
มาป​ ระกอบ​การพ​ ิจารณา ตัดสินใ​จ​ให้ส​ อดคล้อง​กับจ​ ุดป​ ระสงค์​ของ​การ​ใช้เ​ครื่อง​มือแ​ นะ​แนว​นั้นๆ ข้อมูล​ที่​ได​้
จาก​การใ​ช้​เครื่อง​มือแ​ นะแนว นอกจากจ​ ะเ​ป็นป​ ระโยชน์แ​ ก่​ผู้รับ​บริการท​ ี่​ช่วยใ​ห้ผ​ ู้รับ​บริการ​เข้าใจ​ตนเอง​มาก​
ยิ่ง​ขึ้นแ​ ล้ว ยัง​ช่วยใ​ห้น​ ักแ​ นะแนว​ได้เ​รียน​รู้เ​กี่ยว​กับ​พฤติกรรม​มนุษย์​มาก​ยิ่ง​ขึ้น และ​ข้อม​ ูล​นั้นๆ ยัง​มี​คุณค่า​
ที่​จะ​นำ​มา​เป็น​ข้อมูล​พื้น​ฐาน​ใน​การ​พัฒนา​ผู้​เรียน ใน​การ​พัฒนา​ทรัพยากร​มนุษย์ พัฒนา​สิ่ง​แวดล้อม เพื่อ​
ก่อ​ให้เ​กิดป​ ระโยชน์แ​ ก่​บุคคล​และ​สังคม​ต่อ​ไป

3. 	การ​ใช้เ​คร่อื ง​มอื แ​ นะแนวแ​ ละ​คุณลกั ษณะท​ ี่จ​ ำเปน็ ส​ ำหรบั ​ผ​ใู้ ชเ้​คร่อื งม​ ือแ​ นะแนว

       การใ​ชเ​้ ครือ่ งม​ อื แ​ นะแนว โดยเ​ฉพาะอ​ ยา่ งย​ ิง่ เ​ครือ่ งม​ อื แ​ นะแนวท​ เี​่ กีย่ วก​ บั แ​ บบท​ ดสอบน​ ัน้ สามารถน​ ำ​
ไปใ​ชเ​้ พือ่ ก​ ารค​ ดั เ​ลอื กบ​ คุ คล เพือ่ จ​ ดั ต​ ำแหนง่ บ​ คุ คลใ​ดก​ ารท​ ำงานห​ รอื ก​ ารเ​รยี น เพือ่ ก​ ารท​ ำนาย เพือ่ ก​ ารอ​ ธบิ าย
เพื่อต​ รวจส​ อบค​ วามก​ ้าวหน้า​ของพ​ ัฒนาการด​ ้านต​ ่างๆ ของผ​ ู้รับ​บริการ เพื่อ​รายงาน​ผล​การเ​รียน การป​ รับ​ตัว​
ให้ผ​ ู้​ที่เ​กี่ยวข้อง​รับ​ทราบ เพื่อเ​ป็นข​ ้อมูลย​ ้อน​กลับ เพื่อ​นำ​ข้อมูล​นั้น​มาป​ รับปรุงก​ ารอ​ บรม​เลี้ยงด​ ู การป​ รับปรุง​
การเ​รียนก​ าร​สอน การ​จัดการ การ​บริหาร และก​ าร​วิจัย​ต่อไ​ป (American Association for Counseling
and Development, 1980)

       สำหรับค​ ุณลักษณะท​ ี่จ​ ำเป็นส​ ำหรับผ​ ู้ใ​ช้เ​ครื่องม​ ือแ​ นะแนว ตลอดท​ ั้งแ​ บบท​ ดสอบ หรือแ​ บบว​ ัดต​ ่างๆ
ทาง​จิตวิทยา​นั้น สมาคม​จิตวิทยา​อเมริกัน (American Psychological Association, 1981, 1988) ได้เ​สนอ​
แนวคดิ ใ​นก​ ารค​ ดั เ​ลอื ก การใ​ช้ การบ​ รหิ าร และก​ ารแ​ ปลค​ วามห​ มายแ​ บบท​ ดสอบห​ รอื แ​ บบว​ ดั ต​ า่ งๆ ทางจ​ ติ วทิ ยา
โดย​ผู้​ใช้แ​ บบท​ ดสอบห​ รือเ​ครื่องม​ ือ​แนะแนว​ควร​มี​คุณลักษณะ​ที่จ​ ำเป็น ดังนี้

       ผู้​ใช้แ​ บบท​ ดสอบ​หรือ​แบบ​วัด​ต่างๆ ทาง​จิตวิทยา ต้อง
       3.1 	เข้าใจ​หลัก​พื้น​ฐาน​ใน​การ​วัด ความ​หมาย​ของ​การ​วัด พื้น​ฐาน​ทาง​สถิติ การ​คำนวณ​และ​การ​
ประยุกต์​ใช้​สูตรต​ ่างๆ ใน​การ​หา​คุณภาพข​ องแ​ บบ​ทดสอบ​หรือแ​ บบว​ ัดต​ ่างๆ ทางจ​ ิตวิทยา
       3.2 	รู้จัก​ชนิด​ต่างๆ ของ​แบบ​ทดสอบ​หรือ​แบบ​วัด ราย​ละเอียด​ของ​แบบ​ทดสอบ​แต่ละ​ชนิด วิธี​
ดำเนินก​ ารใ​ชแ้​ บบท​ ดสอบ การด​ ำเนินก​ ารห​ รือก​ ารบ​ ริหารแ​ บบท​ ดสอบ การใ​หค้​ ะแนน การแ​ ปลผ​ ลก​ ารท​ ดสอบ
การ​ใช้ว​ ิธี​การท​ ี่​เหมาะส​ มในก​ าร​เสนอผ​ ล​การ​ทดสอบ​ให้ผ​ ู้รับก​ าร​ทดสอบท​ ราบท​ ั้งเ​ป็นกล​ ุ่ม​และ​รายบ​ ุคคล
       3.3 	ต้องค​ ำนึงถ​ ึงส​ ิทธิข​ อง​ผู้รับบ​ ริการ
       3.4	 	ต้อง​มี​จรรยา​บรรณ​ใน​การ​ใช้​แบบ​ทดสอบ ตลอด​ทั้ง​การนำ​แบบ​ทดสอบ​หรือ​เครื่อง​มือ​ต่างๆ
ทาง​จิตวิทยา ไม่​ว่าจ​ ะ​เป็น​แบบ​ทดสอบ แบบสอบถาม หรือ​แบบส​ ำรวจ​ไปใ​ช้​ใน​งานแ​ นะแนว

                           ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57