Page 48 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 48

1-46 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

1.5 	เกณฑ​ก์ าร​ให้​คะแนนแ​ บบสอบถามย​ ุทธวิธีก​ าร​เรียน​และ​การศ​ กึ ษา

   ขอ้ ความ     จรงิ ทีส่ ุด  ส่วนใหญ่จริง จรงิ บา้ งไมจ่ รงิ บา้ ง ส่วนใหญไ่ มจ่ ริง  ไมจ่ รงิ

ขอ้ ความทางบวก     5              432                                                    1
ข้อความทางลบ       1              234                                                    5

1.6 	เกณฑ์ก​ าร​แปลค​ วาม​หมายย​ ทุ ธวิธกี​ าร​เรียนแ​ ละ​การศ​ กึ ษา

                ค่าเฉลี่ย     ยุทธวธิ กี ารเรยี นและการศึกษาอยู่ในระดับ

                3.67-5.00                 มาก
                2.34-3.66                 ปานกลาง
                1.00-2.33                 นอ้ ย

       ผลข​ องก​ ารส​ รา้ งแ​ บบสอบถามย​ ทุ ธวธิ ก​ี ารเ​รยี นแ​ ละก​ ารศ​ กึ ษา สามารถน​ ำไ​ปใ​ชป​้ ระโยชนใ์​นก​ ารพ​ ฒั นา​
งาน​แนะแนว​ด้าน​การ​ศึกษา​ให้​แก่​นักเรียน​วัย​รุ่น​ใน​การ​ปรับปรุง​ยุทธวิธี​การ​เรียน​และ​การ​ศึกษา​ของ​ตนเอง
และ​จะ​เป็นข​ ้อมูลท​ ี่ม​ ีค​ ุณค่าใ​น​การ​จัด​รูป​แบบ​การ​เรียน​การส​ อนใ​ห้​มีป​ ระสิทธิผล​ยิ่ง​ขึ้น

2. 	ในก​ รณท​ี ม่ี​ ​ีเครอ่ื ง​มือ​แนะแนว​แล้วแ​ ต่ย​ ัง​ไมเ่​หมาะส​ ม

       ให้​ปรับ​เครื่องม​ ือ​แนะแนวน​ ั้น​ให้​เหมาะ​สม​ยิ่งข​ ึ้น ตัวอย่าง หาก​นัก​แนะแนว​มีเ​ครื่อง​มือ​แนะแนว เช่น
แบบว​ ัดค​ วามภ​ าค​ภูมิใจใ​น​ตนเอง (Self-Esteem Inventory) ที่ใ​ช้​วัด​ความภ​ าคภ​ ูมิใจ​ในต​ นเองข​ องน​ ักเรียน​
ที่​มีอายุร​ ะหว่าง 13-19 ปี แต่ห​ ากน​ ัก​แนะแนว​ต้องการ​จะ​ศึกษา​ความ​ภาคภ​ ูมิใจใ​น​ตนเองข​ องน​ ักเรียน​ที่​มีอายุ​
ระหว่าง 7-9 ปี นัก​แนะแนว​สามารถ​ปรับ​เครื่อง​มือ​แนะแนว​ที่​มี​นั้น​ให้​เหมาะ​สม​ยิ่ง​ขึ้น โดย​คำนึง​ถึง​หลัก​การ​
และแ​ นวทาง​การ​พัฒนา​เครื่องม​ ือแ​ นะแนว มี​สาระ​สำคัญ ดังนี้

       2.1 	หลกั ก​ ารพ​ ฒั นาแ​ บบว​ ดั ค​ วามภ​ าคภ​ มู ใิ จใ​นต​ นเองข​ องน​ กั เรยี นท​ ม​่ี อี ายร​ุ ะหวา่ ง7-9ป ี    ประกอบด​ ว้ ย
            2.1.1 	ลกั ษณะข​ องส​ ง่ิ ท​ ต​ี่ อ้ งการว​ ดั คือ ความภ​ าคภ​ ูมิใจ​ในต​ นเองข​ องน​ ักเรียน​ที่ม​ ีอายุร​ ะหว่าง

7-9 ปี นัก​แนะแนว​จะ​ต้อง​กำหนด​นิยาม​ศัพท์​เฉพาะ​หรือ​กำหนด​ความ​หมาย​ของ​ความ​ภาค​ภูมิใจ​ใน​ตนเอง​
ของ​นักเรียน โดย​สามารถ​กำหนด​นิยาม​ศัพท์​เฉพาะ​ดังนี้ ความ​ภาค​ภูมิใจ​ใน​ตนเอง​ของ​นักเรียน หมาย​ถึง
ความร​ ูส้ กึ ท​ ดี​่ ต​ี อ่ ต​ นเอง รูส้ กึ ว​ า่ ตนเ​ปน็ ท​ ยี​่ อมรบั ข​ องบ​ คุ คลท​ ใี​่ กลช​้ ดิ ใ​นช​ วี ติ ป​ ระจำว​ นั ข​ องน​ กั เรยี น ซึง่ ป​ ระเมนิ ​
จากค​ วามพ​ ึงพ​ อใจท​ ีไ่​ดก้​ ระทำส​ ิ่งท​ ีต่​ ้องการ พึงพ​ อใจใ​นค​ วามส​ ามารถข​ องต​ นเอง การไ​ดร้​ ับก​ ารย​ อมรับจ​ ากค​ ร​ู
และเ​พือ่ น ซึง่ ค​ วามภ​ าคภ​ มู ใิ จใ​นต​ นเองน​ ี้ สามารถว​ ดั ไ​ดจ​้ ากแ​ บบว​ ดั ค​ วามภ​ าคภ​ มู ใิ จใ​นต​ นเองท​ ปี​่ รบั ปรงุ ม​ าจ​ าก​
แบบว​ ดั ค​ วามภ​ าคภ​ มู ใิ จข​ องน​ กั เรยี นท​ มี​่ อี ายร​ุ ะหวา่ ง 13-19 ปี โดยแ​ บบว​ ดั ค​ วามภ​ าคภ​ มู ใิ จใ​นต​ นเองท​ ปี​่ รบั ปรงุ ​
ใหม่น​ ี้​ประกอบ​ด้วย การ​กำหนด​สถานการณ์ เพื่อใ​ห้​นักเรียน​ตอบส​ นอง​ต่อ​สถานการณ์ เพื่อ​ให้น​ ักเรียน​ได้

                              ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53