Page 46 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 46

1-44 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

                     (2)	ยุทธวิธีส​ นับสนุน ประกอบด​ ้วย การว​ างแผน (Planning) การก​ ำหนดต​ าราง
(Scheduling) ตามแ​ ผน การใ​ชเ​้ ทคนิคก​ ารบ​ ริหารจ​ ัดการอ​ ยา่ งร​ อบคอบ การเ​ตือนต​ นเอง (Self-Monitoring)
และก​ าร​กำกับต​ นเอง​หรือ​การค​ วบคุม​ตนเอง (Self-Regulation)

                5) 	ศึกษาเ​อกสาร​และง​ านว​ จิ ยั ​ทเ่ี​กี่ยวข้อง​กับ​ยุทธวธิ ี​การ​เรียน​และ​การศ​ ึกษา
            1.3.3 	ดำเนิน​การ​สร้าง​เคร่ือง​มือ ใน​การ​ดำเนิน​การ​สร้าง​แบบสอบถาม​ยุทธวิธี​การ​เรียน​และ​
การ​ศึกษา มีข​ ั้น​ตอน​ในก​ าร​สร้าง ดังนี้

                1) 	ศึกษา​เอกสาร​และ​งาน​วิจัย​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ยุทธวิธี​การ​เรียน​และ​การ​ศึกษา แนวคิด
​การ​วัด​ทักษะก​ าร​เรียน (Study Skills) และ​ยุทธวิธีก​ าร​เรียน (Learning Strategies)

                2) 	ระบจุ​ ุดม​ ุ่งห​ มายใ​นก​ ารส​ ร้างห​ รือพ​ ัฒนาแ​ บบสอบถามย​ ุทธวิธกี​ ารเ​รียนแ​ ละก​ ารศ​ ึกษา
                3) ระบุเ​นื้อหาย​ ุทธวิธีก​ ารเ​รียนแ​ ละก​ ารศ​ ึกษาใ​ห้ช​ ัดเจนแ​ ละใ​ห้ส​ อดคล้อง​กับน​ ิยามศ​ ัพท​์
เฉพาะ
                4) 	ทำตา​ราง​เนื้อหา​กับ​จุด​มุ่ง​หมาย​ใน​การ​พัฒนา​แบบสอบถาม​ยุทธวิธี​การ​เรียน​และ
​การ​ศึกษา
                5) กำหนด​รูปแ​ บบ​ของ​ข้อค​ ำถาม​ของ​แบบสอบถาม
                6) กำหนด​เกณฑ์ก​ ารใ​ห้ค​ ะแนน
                7) กำหนด​เวลา​ทดสอบ​หรือ​เวลาใ​นก​ ารต​ อบแ​ บบสอบถาม
                8) กำหนด​จำนวน​ข้อ​ให้​ครอบคลุม​เนื้อหา​ของ​ยุทธวิธี​การ​เรียน​และ​การ​ศึกษา ซึ่ง​เป็น​
ลักษณะ​ของ​สิ่ง​ที่​ต้องการ​จะ​วัด
                9) เขียน​ข้อสอบ ตรวจ​สอบ​ข้อสอบ​หรือ​ข้อความท​ ี่​เขียนข​ ึ้น
                10) 	นำ​แบบสอบถาม​ยุทธวิธี​การ​เรียน​และ​การ​ศึกษา​ที่​สร้าง​ขึ้น​ไป​ทดลอง​ใช้ เพื่อ​หา​
คุณภาพ​ของแ​ บบสอบถาม
            1.3.4 ตรวจ​สอบ​คุณภาพ​เครื่อง​มือ ใน​การ​ตรวจ​สอบ​คุณภาพ​แบบสอบถาม​ยุทธวิธี​การ​เรียน​
และก​ ารศ​ ึกษา​ที่​สร้าง​ขึ้น ประกอบ​ด้วย
                1) 	การ​หาความต​ รง (Validity) โดย​หา

                     (1) ความ​ตรง​เชิง​ประจักษ์ (Face Validity) โดย​ให้​ผู้ทรง​คุณวุฒิ​พิจารณา​ว่า
ข้อความ/ข้อ​คำถาม ที่​สร้าง​ขึ้น​นั้น สอดคล้อง​กับ​นิยาม​ศัพท์​เฉพาะ​และ​จุด​มุ่ง​หมาย​ใน​การ​สร้าง​เครื่อง​มือ​
นั้นๆ หรือ​ไม่

                     (2) ความต​ รงเ​ชิงเ​นื้อหา (Content Validity) โดยใ​หผ้​ ู้ทรงค​ ุณวุฒพิ​ ิจารณาค​ วาม​
ตรงเ​ชิงเ​นื้อหา โดยต​ รวจส​ อบข​ ้อความ/ข้อค​ ำถามด​ ้านเ​นื้อหาแ​ ละภ​ าษาท​ ีใ่​ชว้​ ่าม​ คี​ วามส​ มบูรณ์ ถูกต​ ้องเ​พียงใ​ด
แล้ว​ผู้​สร้างเ​ครื่อง​มือ​นั้นๆ นำ​มา​แก้ไข ปรับปรุง​ให้ส​ มบูรณ์​ยิ่ง​ขึ้น ก่อน​นำ​ไป​หาค​ ่า​อำนาจจ​ ำแนก​รายข​ ้อ

                2) การ​วิเคราะห์​หา​ค่า​อำนาจ​จำแนก​ราย​ข้อ (Item Analysis) เป็นการ​วิเคราะห์​ราย​ข้อ​
โดยใ​ช้ข​ ้อมูลจ​ ากก​ ารท​ ดลองใ​ช้/หรือใ​ช้จ​ ริง มาห​ าค​ ่าต​ ่างๆ เพื่อร​ ะบุล​ ักษณะข​ องข​ ้อความ/ข้อค​ ำถ​ าม​ นั้นๆ โดย​
พิจารณา จำนวน​ผู้​ตอบ​ข้อความ​นั้น ความ​สอดคล้อง​ระหว่าง​ข้อ ข้อ​ที่​บอก​ความ​แตกต​ ่าง​ระหว่าง​กลุ่ม ข้อ​ที่​
สัมพันธ์ก​ ับเ​กณฑ์​ภายนอก และ​ข้อ​ที่ส​ ัมพันธ์​กับค​ ะแนน​รวม

                           ลิขสทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51