Page 42 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 42
1-40 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
ตอนท ่ี 1.3
การนำค วามร เู้ ก่ียวก ับการพฒั นาเครอื่ งม ือแ นะแนว
ไปประยุกต์ใช้ในงานแ นะแนว
โปรดอ่านแผนการส อนประจำตอนท ่ี 1.3 แลว้ จ งึ ศ ึกษาเน้อื หาสาระ พร้อมปฏบิ ัติกิจกรรมในแ ตล่ ะเรือ่ ง
หัวเรื่อง
เรื่องท ี่ 1.3.1 แ นวทางการนำความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวไปประยุกต์ใช้ใน
งานแนะแนว
เรื่องที่ 1.3.2 ข ้อค วรค ำนึงในก ารนำค วามร ูเ้กี่ยวก ับก ารพ ัฒนาเครื่องม ือแ นะแนวไปป ระยุกต์
ใช้ใ นงานแนะแนว
แนวคิด
1. ความรู้เกี่ยวก ับก ารพ ัฒนาเครื่องมือแนะแนว มีค ุณค่าอย่างยิ่งสำหรับนักแนะแนวในการ
สร้างหรือพัฒนาเครื่องมือแนะแนว ในกรณีที่ไม่มีเครื่องมือแนะแนวว่าควรจะดำเนิน
การสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือแนะแนวที่ต้องการพัฒนาอย่างไร หรือในกรณีที่มีเครื่อง
มือแ นะแนวแ ล้วแต่ย ังไม่เหมาะสม จำเป็นจ ะต้องปรับให้สอดคล้องกับจ ุดมุ่งหมาย หรือ
ลักษณะของสิ่งที่ต้องการวัดและลักษณะของบุคคลที่ต้องการวัดอย่างไร หรือในกรณีที่
มีเครื่องม ือแนะแนวอ ยู่แ ล้ว จะนำไปป ระยุกต์ใช้ในงานแ นะแนวได้อย่างไร
2. ในการนำความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวไปประยุกต์ใช้ในงานแนะแนวนั้น
นักแ นะแนวค วรค ำนึงถ ึง วัตถุประสงค์แ ละค วามส ำคัญข องก ารพ ัฒนาเครื่องม ือแ นะแนว
คุณค่าของการใช้เครื่องมือแนะแนว การใช้เครื่องมือแนะแนวและคุณลักษณะที่จำเป็น
สำหรับผู้ใช้เครื่องมือแนะแนว และประโยชน์ของการนำความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา
เครื่องมือแนะแนวไปประยุกต์ใช้ในงานแนะแนว ตลอดทั้งการนำเครื่องมือแนะแนว
ที่พัฒนาขึ้นนั้นไปใช้ในการวัดหรือใช้ประเมินผู้รับบริการก่อนการให้บริการแนะแนว
(Pre Evaluation) ระหว่างการให้บริการแนะแนว (Formative Evaluation) ประเมิน
ผลรวม (Summative Evaluation) ซึ่งเป็นการป ระเมินเมื่อสิ้นสุดการให้บริการแ นะแนว
ตลอดทั้งต ิดตามผลการให้บ ริการแนะแนว
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช