Page 38 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 38
1-36 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
3) ความพ ร้อมท างอ ารมณ์ เปน็ ค วามพ ร้อมท ีเ่ นน้ ด า้ นก ารป รับท ัศนคตหิ รือเจตคติ เพื่อ
ให้เกิดค วามตั้งใจที่จ ะต อบสนอง
2.3.3 การตอบสนองต ามแ นวทางท ี่กำหนด (Guided Response) โดย
1) การเลียนแ บบต ามแ บบท ีก่ ำหนด หรือเลียนแ บบก ารกร ะท ำข องบ ุคคลใดบ ุคคลห นึ่ง
หรือตามต ัวแบบ
2) การลองผ ิดลองถ ูกด ้วยต นเอง
2.3.4 การส รา้ งก ลไกในก ารต อบส นอง (Mechanism) ตามค วามร ู้แ ละป ระสบการณ์ท ี่ส ะสมไว้
โดยแสดงก ารตอบส นองด ้วยค วามเชื่อมั่น
2.3.5 การต อบสนองท ซ่ี บั ซ อ้ น (Complex Overt Response) การต อบสนองในระดับนี้ต ้องม ี
ทักษะ มีการต อบสนองโดยไม่ล ังเล และต อบส นองโดยอัตโนมัติ พร้อมท ั้งดัดแปลงให้เหมาะส ม ตลอดจน
หาว ิธีการใหม่ๆ ในการต อบสนองให้ส อดคล้องกับว ัตถุประสงค์
กลา่ วโดยส รปุ ขอบขา่ ยข องพ ฤตกิ รรมด า้ นค วามร -ู้ ความค ดิ พฤตกิ รรมด า้ นค วามร สู้ กึ และพ ฤตกิ รรม
ด้านการปฏิบัติ จะช่วยให้นักแนะแนวทราบว่าในการสร้างเครื่องมือแนะแนว หรือการพัฒนาเครื่องมือ
แนะแนวนั้น จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระที่จะนำมาสร้างข้อคำถามของแบบทดสอบ
แบบสอบถาม แบบส ำรวจ ตลอดทั้งกิจกรรมต ่างๆ ทางการแ นะแนว
3. การดำเนินการสร้างเครื่องม อื แนะแนว
สาระสำคัญข องการด ำเนินการสร้างเครื่องมือแนะแนว มีด ังนี้
1) กำหนดจุดมุ่งหมายในการสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือแนะแนวทั้งด้านการศึกษา ด้านอาชีพ
ด้านส่วนตัวและสังคม สำหรับเด็ก วัยรุ่น และผ ู้ใหญ่ มีจุดม ุ่งหมายในการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวท ี่ใช้วัด
พุทธิพิสัย จิตพิสัย หรือท ักษะพ ิสัย
2) ศึกษาเนื้อหาสาระด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคมที่ต้องการวัดให้สอดคล้อง
กับบ ุคคลว ัยต ่างๆ ที่ต้องการว ัด
3) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี วิธีการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้าน
ก ารศ ึกษา ด้านอ าชีพ ด้านส่วนตัวแ ละด้านส ังคม
4) วางแผนการสร้างเครื่องมือแนะแนว ตามหลักการการพัฒนาเครื่องมือแนะแนว และแนวทาง
การพัฒนาเครื่องม ือแ นะแนว
5) วางแผนการสร้างแบบทดสอบ แบบสำรวจ แบบสอบถาม พร้อมทั้งกำหนดแบบหรือลักษณะ
ข้อสอบ
6) เขียนข ้อสอบต ามแผนที่ก ำหนด
7) นำเครื่องม ือห รือแบบทดสอบที่ส ร้างขึ้นไปต รวจสอบความต รงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
โดยนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาของสิ่งที่ต้องการวัด และผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผล พิจารณาว่าข้อสอบ
แต่ละข ้อท ีส่ ร้างข ึ้นน ั้นว ัดในด ้านน ั้นๆ หรือไม่ ควรป รับปรุงอ ย่างไร แล้วน ำม าป รับปรุงแ ก้ไขต ามข ้อเสนอแ นะ
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช