Page 34 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 34
1-32 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
2.1 พฤติกรรมด้านความรู้ความคิดหรือการรู้คิด พฤติกรรมด้านนี้เป็นความสามารถในการคิด
ซึ่งเป็นกร ะบวนก ารทางด ้านสมองของมนุษย์แ บ่งเป็น 6 ขั้น เรียงตามล ำดับก ารเกิดพ ฤติกรรม จากข ั้นต ่ำส ุด
ถึงขั้นส ูงสุดห รือจากข ั้นท ี่ง่ายท ี่สุด (Simple) ถึงข ั้นท ี่สลับซับซ ้อนที่สุด (Complex) ดังภาพท ี่ 1.1
สลับซับซอ้ น (Complex)
6. การประเมินค า่
5. การสงั เคราะห์
4. การว เิ คราะห์
3. การนำไปใช้
2. ความเข้าใจ
1. ความรูค้ วามจ ำ
ง่าย (Simple)
ภาพที่ 1.1 ลำดับข น้ั ของพฤติกรรมด ้านความร้-ู ความค ดิ
พฤติกรรมด ้านความรู้-ความค ิด หรือการรู้คิด จำแนกเป็น 6 ขั้น ดังนี้
2.1.1 ความรู้ความจำ (Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการจดจำจากประสบการณ์
ต่างๆ และระลึกเรื่องร าวนั้นๆ ออกม าอย่างถ ูกต้องแ ม่นยำ แบ่งเป็น 3 ขั้น ดังนี้
1) ความร ู้เกี่ยวก ับค วามจ ริง ประกอบด ้วย ความรู้เกี่ยวก ับค ำศ ัพท์ ความร ู้เกี่ยวก ับก ฎ
และค วามจริง
2) ความร ูเ้กี่ยวก ับว ิธกี าร ประกอบด ้วย ความร ูเ้กี่ยวก ับร ะเบียบแ บบแผน ความร ูเ้กี่ยว
กับล ำดับข ั้นแ ละแ นวโน้ม ความร ูเ้กี่ยวก ับก ารแ ยกป ระเภท ความร ูเ้กี่ยวก ับเกณฑ์ และค วามร ูเ้กี่ยวก ับว ิธกี าร
3) ความรู้เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎี ประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาและ
การข ยายหลักก าร ความร ู้เกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสร้าง
2.1.2 ความเข้าใจ (Comprehension) หมายถึง ความสามารถในการบ่งบอกใจความสำคัญ
ของเรื่องราวต่างๆ โดยการแปลความแล้วเปรียบเทียบย่นย่อเอาแต่ใจความสำคัญหรือผสมผสานสิ่งใหม่ที่
พบเห็นก ับประสบการณ์เดิมแบ่งเป็น 3 ขั้น ดังนี้
1) การแปลความ
2) การต ีความ
3) การข ยายค วาม
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช