Page 37 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 37
แนวคดิ ในการพฒั นาเคร่อื งมอื แนะแนว 1-35
การร บั รู้ส่ิงเรา้ 1. การร ูจ้ กั เกีย่ วกับส งิ่ เร้าน นั้ ความสนใจ
การต อบส นอง 2. ความต้ังใจหรอื เตม็ ใจรบั ร้สู ง่ิ เร้าน ั้นๆ เจตค ิต
การให้คุณคา่ 3. การค วบคุมห รอื ค ดั เลือกสิง่ เรา้ ท ่สี นใจ คุณค่า ค่านิยม
การจ ัดร ะบบคณุ คา่ ัลกษณะ ิน ัสย
1. การย อมรบั สิง่ เรา้ นน้ั ๆ ก่อนจะต อบสนอง
2. ความต ั้งใจทีจ่ ะตอบสนอง
3. ความพอใจที่ได้ตอบสนอง
1. การย อมรับคณุ ค่า
2. ความพอใจในค ณุ คา่
3. ความผูกพันในค ณุ ค่าน นั้ ๆ
1. การส ร้างม โนท ัศน์ของคณุ คา่ น ัน้ ๆ
2. การจ ัดระบบค ณุ ค่าต ่างๆ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
การสรา้ งลักษณะนสิ ัย 1. การส รา้ งลกั ษณะน ิสยั ต ามค่าน ยิ ม
2. การสร้างบ ุคลิกลักษณะข องตนเอง
ภาพท ่ี 1.2 ลำดบั ขน้ั ข องพ ฤติกรรมด ้านความรสู้ ึก
2.3 พฤตกิ รรมด า้ นก ารป ฏบิ ตั ิ พฤติกรรมด ้านน ีเ้ป็นเรื่องเกี่ยวก ับก ารกร ะท ำ (Doing) อย่างม ที กั ษะ
ในการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ โดยมุ่งที่การพัฒนาทักษะกล้ามเนื้อซึ่งสัมพันธ์ระหว่างกายกับใจ โดย
เริ่มจากทักษะง่ายไปยังทักษะที่ซับซ้อน (โกวิทย์ ประวาลพฤกษ์ และสมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ 2523: 43-47
อ้างจาก Simpson, 1966-1967) ดังนี้
2.3.1 การรับรู้ (Perception) เป็นขั้นต ้นข องการเริ่มกิจกรรมแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ
1) การเร้าค วามรู้สึก เป็นการก ระตุ้นต่อโสตประสาทค วามร ู้สึกห รืออ วัยวะสัมผัสอย่าง
ใดอย่างห นึ่งหรือห ลายอย่าง เช่น ทางหู ทางตา ทางการสัมผัส ทางล ิ้น ทางจ มูก ทางก ล้ามเนื้อ
2) การตัดสินใจเลือกพฤติกรรมที่จ ะต อบส นอง
3) การแสดงอาการที่จะตอบสนอง
2.3.2 การเตรียมพร้อมท่ีจะปฏิบัติหรือเตรียมพร้อมท่ีจะกระทำการอย่างใดอย่างหน่ึง โดย
คำนึงถึง
1) ความพร้อมท างความรู้ ความค ิด หรือความพ ร้อมทางสมอง
2) ความพร้อมทางร่างกายที่จ ะลงมือกระทำ
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช