Page 35 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 35
แนวคิดในการพัฒนาเคร่อื งมือแนะแนว 1-33
2.1.3 การนำไปใช้ (Application) หมายถึง ความสามารถในการนำหลักการ กฎเกณฑ์ และ
วิธีดำเนินก ารต่างๆ ของเรื่องท ี่ได้ร ู้ม าแล้ว ไปใช้แ ก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ได้
2.1.4 การว เิ คราะห์ (Analysis) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะเรื่องร าวท ี่ส มบูรณ์ให้
กระจายอ อกเป็นส ่วนย ่อยๆ แบ่งเป็น 3 ขั้น ดังนี้
1) การวิเคราะห์ความส ำคัญ
2) การวิเคราะห์ค วามสัมพันธ์
3) การวิเคราะห์ห ลักการ
2.1.5 การสังเคราะห์ (Synthesis) หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานส่วนย ่อยเข้าเป็น
เรื่องร าวเดียวกัน โดยก ารปรับปรุงข องเก่าให้ดีขึ้น และม ีค ุณภาพสูงข ึ้น แบ่งเป็น 3 ขั้น ดังนี้
1) การสังเคราะห์ข้อความ
2) การสังเคราะห์แผนง าน
3) การส ังเคราะห์ความส ัมพันธ์
2.1.6 การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึง ความสามารถในการวินิจฉัยหรือตัดสินกระทำ
สิ่งใดสิ่งห นึ่งลงไป โดยย ึดถือเกณฑ์เป็นหลักแ บ่งเป็น 2 ขั้น ดังนี้
1) การประเมินค่าโดยอ าศัยข้อเท็จจ ริงภายในห รือการประเมินค่าจากเกณฑ์ภายใน
2) การป ระเมินค่าโดยอาศัยเกณฑ์ภายนอก หรือการป ระเมินค่าจากเกณฑ์ภายนอก
2.2 พฤติกรรมด ้านความร สู้ กึ พฤติกรรมด้านน ี้เกี่ยวข้องกับค วามรู้สึก จิตใจ อารมณ์ ความส นใจ
ความชื่นชม เจตคติ ค่านิยม ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความเชื่อของบุคคล ซึ่งพฤติกรรมด้านความ
รู้สึกนี้เป็นเป้าหมายหนึ่งของการให้บริการแนะแนวที่จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นในตัวผู้รับบริการ นอกจากนี้
องค์ป ระกอบต่างๆ ทางด้านความรู้สึก มีค วามสำคัญท ั้งในด้านเป็นวิถีทาง (Means) และจ ุดหมายปลายท าง
(Ends) ของก ารจัดบ ริการให้การปรึกษาแ ละแนะแนว
รูปแบบของการพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้สึก มีลำดับขั้นดังนี้ (Krathwohl และคณะ 1964
และอุทุมพร จามรม าน 2535)
ขั้นที่ 1 การรับรู้ (Receiving) สิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของ ข้อมูล สิ่งที่มีชีวิต ว่าสิ่งนั้นคืออะไร
มีล ักษณะสำคัญอย่างไร การร ับรู้น ี้จำแนกเป็นขั้นย่อยๆ 3 ขั้น คือ
1) การร ู้จักเกี่ยวก ับสิ่งเร้านั้น (Awareness)
2) ความตั้งใจห รือเต็มใจรับร ู้ห รือตั้งใจที่จ ะย อมรับส ิ่งเร้าน ั้นๆ (Willingness to Receive)
3) การค วบคุมหรือค ัดเลือกส ิ่งเร้าที่สนใจ (Controlled or Selected Attention) ซึ่งแ สดง
ถึงความส นใจที่ม ีต่อส ิ่งเร้านั้นๆ
ขั้นที่ 2 การตอบสนอง (Responding) ในขั้นนี้ บุคคลที่ได้รับรู้สิ่งเร้าในข ั้นที่ 1 จะเริ่มม ีปฏิกิริยา
ตอบส นองต่อส ิ่งเร้านั้นๆ โดยเริ่มด ้วย
1) ยอมรับส ิ่งเร้านั้นๆ ก่อนท ี่จะตอบสนอง
2) ตั้งใจท ี่จ ะต อบสนอง ซึ่งเป็นลักษณะที่เห็นระหว่างต อบสนอง
3) พอใจท ี่ได้ตอบสนอง ซึ่งเป็นลักษณะที่เห็นห ลังจ ากต อบสนองแล้ว
ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช