Page 33 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 33
แนวคดิ ในการพัฒนาเครือ่ งมือแนะแนว 1-31
1.1.3 เพอ่ื ก ารว นิ จิ ฉยั (Diagnosis) เป็นการว ัดเพื่อด คู วามบ กพร่องข องผ ู้รับบ ริการ เพื่อค ้นหา
สาเหตุการบกพร่องอันจะน ำไปส ู่การแก้ไขข ้อบกพร่องต่างๆ เหล่าน ั้น
1.1.4 เพ่ือการพยากรณ์ (Prediction) หรือการทำนาย เป็นการวัดเพื่อจะใช้คะแนนไปทำนาย
หรือทายว่า ผู้รับบริการควรจะเรียนอะไรจึงจะประสบความสำเร็จ หรือควรจะตัดสินใจเลือกอาชีพอะไรจึง
จะประสบความส ำเร็จในอ าชีพห รือช ีวิตก ารงาน
1.1.5 เพอ่ื ก ารป ระเมนิ ผ ล (Evaluation) เปน็ การว ดั ผลโดยใชเ้ ครือ่ งม อื แ นะแนวเพือ่ ส รปุ ผ ลก าร
ให้การป รึกษา หรือเพื่อส รุปผ ลก ารเรียน โดยน ำค ะแนนม าป ระเมินค ุณค่า หรือต ีร าคาก ารให้การป รึกษาห รือ
การศ ึกษาเป็นส ่วนร วมว ่า วิธีก ารให้การป รึกษาแ บบน ี้ห รือว ิธีก ารส อนแ บบน ี้บ รรลุผ ลต ามท ี่ต ั้งจ ุดม ุ่งห มายไว้
หรือไ ม่
1.2 จุดมุ่งหมายในการนำเครื่องมือแนะแนวไปใช้วัดลักษณะต่างๆ ของผู้รับบริการ มีจุดมุ่งหมาย
ดังนี้ (American Association for Counseling and Development (AACD), 1980)
1.2.1 เพ่ือการคัดเลือกบุคคล และจัดตำแหน่ง หรือบรรจุคน ในการทำงาน หรือการเรียน
ซึ่งนำมาใช้ประโยชน์ทั้งในวงการธ ุรกิจ อุตสาหกรรม และการศึกษา
1.2.2 เพ่ือก ารทำนายความสำเรจ็ ในโปรแกรมก ารศ ึกษา และก ารท ำงาน
1.2.3 เพอื่ ก ารอธบิ ายแ ละเพ่ือก ารว ินจิ ฉยั ลักษณะต่างๆ ตลอดท ั้งป ัญหาข องผ ู้รับบริการ
1.2.4 เพอ่ื การต รวจสอบความก ้าวหน้าของพ ัฒนาการดา้ นต ่างๆ ของผู้รับบริการ
1.2.5 เพ่ือการรายงานผลการเรียน การปรับตัว ให้กับผู้เกี่ยวข้องเพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับ
(Feedback) ให้กับครู บิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อปรับปรุงการสอน การอบรม
เลี้ยงดู ตลอดทั้งเพื่อเป็นข ้อมูลสำหรับการบริหาร การจ ัดการ และการวิจัยต ่อไป
สรุปได้ว่า จุดมุ่งหมายในการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวเพื่อจะมีเครื่องมือแนะแนวที่จะช่วยให้
นักแนะแนวหรือผู้ให้การปรึกษาได้รู้จักและเข้าใจผู้รับบริการมากยิ่งขึ้น และจะช่วยวินิจฉัยเรื่องราวต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการ เพื่อวางแผนในการให้การช่วยเหลือต่อไป นอกจากนี้ ผลของการนำเครื่องมือ
แนะแนวไปใช้จ ะช ่วยให้ผ ู้รับบ ริการร ู้จักแ ละเข้าใจต นเองย ิ่งข ึ้น มีค ุณค่าแ ก่ก ารพ ัฒนาต นเอง มีค ุณค่าต ่อก าร
ตัดสินใจเกี่ยวก ับเรื่องร าวต ่างๆ เกี่ยวก ับต นเอง ดังน ั้น จุดม ุ่งห มายท ี่ส ำคัญข องก ารพ ัฒนาเครื่องม ือแ นะแนว
ควรกำหนดให้ค รอบคลุมป ระเด็นสำคัญๆ ต่อไปน ี้คือ เพื่อจ ัดตำแหน่ง เพื่อก ารเปรียบเทียบ เพื่อก ารวินิจฉัย
เพื่อก ารพยากรณ์ห รือก ารทำนาย และเพื่อก ารป ระเมินผ ล
2. การกำหนดข อบขา่ ยของเครื่องม ือแนะแนวท่ตี อ้ งการพัฒนา
ขอบข่ายข องเครื่องม ือแ นะแนวที่ต ้องการพ ัฒนาท ี่ส ำคัญจำแนกเป็น 3 ด้านค ือ เครื่องมือแนะแนว
ด้านการศึกษา ด้านอ าชีพ ด้านส่วนตัวแ ละส ังคม สำหรับเด็ก วัยร ุ่น และผ ู้ใหญ่ โดยค วรพ ัฒนาให้ค รอบคลุม
พฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน คือ พฤติกรรมด ้านความร ู้-ความค ิด (Cognitive Domain) หรือการร ู้คิด พฤติกรรม
ด้านค วามร ู้สึก (Affective Domain) และพ ฤติกรรมด ้านก ารป ฏิบัติ (Psychomotor Domain) ซึ่งพ ฤติกรรม
แต่ละด ้านมีประเด็นส ำคัญๆ ดังนี้ (Bloom and Others, 1971; Tuckman, 1975; Stanley and Hopkins,
1978; โกว ิทย์ ประวาลพฤกษ์ และส มศักดิ์ สินธุร ะเวชญ ์ 2523: 52-55)
ลิขสทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช