Page 29 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 29
แนวคดิ ในการพฒั นาเคร่อื งมอื แนะแนว 1-27
ส่วนเกณฑ์การให้ค ะแนน แบบสอบถามดังก ล่าว มีดังนี้
แบบสอบถามค วามเชื่อม ั่นในต นเองในท ีน่ ี้ แต่ละข ้อก ำหนดใหม้ คี ะแนนเต็ม 3 คะแนน คำต อบในข ้อ
ก. ข. หรือ ค. ที่ตรงก ับนิยามของลักษณะข องส ิ่งท ี่ต ้องการจ ะวัดตามท ี่กำหนดให้ 3 คะแนน คำตอบที่ต รงก ับ
นิยามที่กำหนดไว้เพียงบางส่วนให้ 2 คะแนน และคำตอบท ี่ตรงก ับน ิยามท ี่กำหนดไว้น้อยมากให้ 1 คะแนน
3.2.4 ประโยชนท์ จี่ ะน ำแ บบสอบถามค วามเชอ่ื ม น่ั ในต นเองไปใชใ้ นง านแ นะแนว คอื จะท ำให้
ทราบความเชื่อมั่นของนักเรียนว่ามีลักษณะอย่างไร และหากว่านักเรียนไม่ค่อยมีความเชื่อมั่นในตนเอง
นักแนะแนวสามารถจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองให้แก่นักเรียน ทั้งนี้เพราะว่า บุคคลที่มี
ความเชื่อมั่นในต นเองจะม ีความร ู้สึกเป็นตัวของตัวเอง รู้จักคิด รู้จักเลือก รู้จักต ัดสินใจอ ย่างฉลาด มีความ
เข้มแข็งทั้งกายและใจ อันเป็นพลังในการที่จะเผชิญต่อทุกสถานการณ์ด้วยความมั่นใจ ในทางตรงข้าม
หากบุคคลใดที่ขาดความเชื่อมั่นในตนเองแล้วจะรู้สึกว่า ตนมีปมด้อย ขลาดกลัว ไม่กล้าคิด ไม่กล้าทำ
บุคคลที่ข าดความเชื่อม ั่นในต นเองจะต้องพ ึ่งผู้อ ื่นอยู่เสมอและผ ลที่ตามม าคือ การข าดค วามก ล้าท ี่จะเผชิญ
ต่ออุปสรรคหรือง านที่ย ากลำบาก
3.3 หลักการพัฒนาเคร่ืองมือแนะแนวด้านสังคมเพ่ือวัดการสื่อสารในครอบครัว ในการพัฒนา
เครื่องมือแนะแนวเพื่อวัดการสื่อสารในครอบครัว นักแนะแนวควรจะกำหนดลักษณะของสิ่งที่ต้องการจะ
วัดเกี่ยวกับการสื่อสารในค รอบครัว ลักษณะข องบุคคลท ี่ต้องการวัด ลักษณะข องเครื่องม ือท ี่จะใช้วัด และ
ประโยชน์ท ี่จะน ำเครื่องมือแนะแนวไปใช้ในงานแ นะแนว ดังต ัวอย่างต่อไปน ี้
สำหรับการพ ัฒนาเครื่องม ือแนะแนวด ้านส ังคมเพื่อว ัดการส ื่อสารในครอบครัว มีสาระสำคัญดังนี้
3.3.1 ลักษณะของสิ่งที่ต้องการจะวัดเกี่ยวกับการสื่อสารในครอบครัว มีดังนี้ การสื่อสารใน
ครอบครัว หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกที่สมาชิกในครอบครัวสื่อความหมาย ความคิด ความรู้สึก
และความต้องการระหว่างกัน ทั้งภาษาถ้อยคำ และภาษาท่าทางที่เหมาะสม เพื่อให้สมาชิกในครอบครัว
เกิดความรู้สึกที่ดีต่อกัน เกิดความผูกพันใกล้ชิดสนิทสนมกันมากยิ่งขึ้น และรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ดัง
รายล ะเอียดต่อไปนี้
1) ภาษาถ อ้ ยคำ ได้แก่ พูดด ้วยค ำท ีส่ ุภาพ มเีหตุผล เปิดเผยต รงไปต รงม า ใหค้ ำแ นะนำ
ที่ด ี ไม่ต ำหนิ ไม่ดูถูก ไม่ป ระชดประชัน ไม่เปรียบเทียบก ับผ ู้อื่น และไม่วิจารณ์ต่อหน้าผ ู้อื่น
2) ภาษาท่าทาง ได้แก่ ตั้งใจฟัง สบสายตาขณะที่สนทนา น้ำเสียงและท่าทาง
การแสดงออกท ี่เหมาะส ม มีก ารส ัมผัสท ี่อ่อนโยน
3.3.2 ลกั ษณะข องบ คุ คลท ตี่ อ้ งการว ดั คอื สมาชกิ ค รอบครวั ประกอบด ว้ ย บดิ าม ารดา บตุ รธ ดิ า
3.3.3 ล ักษณะข องเครือ่ งม อื ท ่ีจะใช้วดั คือ แบบสอบถามก ารส ื่อสารในค รอบครัว จำแนกเป็น
แบบสอบถามก ารส ื่อสารในค รอบครัวส ำหรับผ ูท้ ีเ่ป็นบ ุตรห รือธ ิดา และแ บบสอบถามก ารส ื่อสารในค รอบครัว
สำหรบั บ ดิ าม ารดา โดยน กั แ นะแนวส ามารถส รา้ งแ บบสอบถามโดยก ำหนดเปน็ ส ถานการณ์ ดงั ต วั อยา่ งต อ่ ไปน ี้
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช