Page 25 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 25

แนวคดิ ในการพฒั นาเครื่องมอื แนะแนว 1-23

            2.3.4 	ประโยชนท​์ จ​ี่ ะน​ ำแ​ บบสอบถามค​ า่ น​ ยิ มใ​นก​ ารท​ ำงาน   ไปใ​ชใ​้ นง​ านแ​ นะแนวด​ า้ นอ​ าชพี คอื
เพือ่ น​ ำผ​ ลจ​ ากก​ ารต​ อบแ​ บบสอบถามค​ า่ น​ ยิ มใ​นก​ ารท​ ำงานไ​ปใ​ชป​้ ระโยชนต​์ ่อก​ ารจ​ ัดบ​ รกิ ารแ​ นะแนวอ​ าชพี เพือ่ ​
สร้างเ​สริมค​ ่า​นิยม​ในก​ าร​ทำงานท​ ี่เ​หมาะส​ ม​แก่​นักเรียน ทั้งนี้ เพื่อใ​ห้​นักเรียนไ​ด้ร​ ู้จัก​ค้นหาค​ ่าน​ ิยม​ที่​จะย​ ึดถือ​
เป็น​หลักใ​นก​ าร​ทำงานต​ ่อ​ไปใ​น​อนาคต

3. 	หลกั ​การพ​ ฒั นา​เครือ่ งม​ อื ​แนะแนว​ดา้ นส​ ่วนต​ วั ​และด​ ้าน​สังคม

       เครื่อง​มือ​แนะแนว​ด้าน​ส่วน​ตัว​และ​ด้าน​สังคม มี​ทั้ง​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​และ​เครื่อง​มือ​ที่​สร้าง​ขึ้น​เอง
หากน​ ัก​แนะแนวม​ ี​เครื่องม​ ือม​ าตรฐานท​ างการแ​ นะแนวด​ ้าน​ส่วน​ตัว และส​ ังคม นัก​แนะแนวจ​ ะ​ต้อง​พิจารณา​
ก่อน​ว่า เครื่อง​มือ​มาตร​ฐาน​นั้นๆ มี​จุด​ประสงค์​อย่างไร ลักษณะ​สิ่ง​ที่​ต้องการ​จะ​วัด ลักษณะ​ของ​บุคคล​ที่​
ต้องการ​วัด การ​ดำเนิน​การ​วัด การ​ให้​คะแนน การ​แปล​ผล​ของ​คะแนน และ​การ​ตีความ​หมาย​สอดคล้อง​กับ
​เป้า​หมาย​ของ​การนำ​เครื่อง​มือ​แนะ​แนว​นั้นๆ ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​งาน​แนะแนว​มาก​น้อย​เพียง​ใด ต้อง​ปรับปรุง
หรือ​เปลี่ยนแปลง​ให้​สอดคล้อง​กับ​จุด​ประสงค์ ตลอด​ทั้ง​ลักษณะ​ของ​สิ่ง​ที่​ต้องการ​จะ​วัด​หรือ​ลักษณะ​ของ​
บุคคลท​ ี่​ต้องการ​วัด​เพียงใ​ด

       อยา่ งไรก​ ต็ าม เครอื่ งม​ อื แ​ นะแนวด​ า้ นส​ ว่ นต​ วั แ​ ละด​ า้ นส​ งั คมน​ ัน้ สว่ นม​ ากน​ กั แ​ นะแนวจ​ ะส​ รา้ งเ​ครือ่ งม​ อื ​
แนะแนว​ดัง​กล่าว​เอง เพื่อ​นำม​ า​ใช้ก​ ับก​ ลุ่มท​ ี่จ​ ะ​ใช้จ​ ริง ซึ่งก​ ลุ่มท​ ี่​จะใ​ช้​จริงน​ ั้นค​ ือ กลุ่มท​ ี่​วางแผน​ไว้ต​ ั้งแต่​ก่อน​
การ​สร้างห​ รือ​พัฒนา​เครื่องม​ ือว​ ่า จะ​ใช้​เครื่อง​มือน​ ั้นๆ กับ​ใคร​บ้าง จำนวนม​ าก​น้อยเ​พียง​ใด เพื่อจ​ ะไ​ด้​กำหนด​
จุดป​ ระสงคข์​ องก​ ารส​ ร้างห​ รือพ​ ัฒนาเ​ครื่องม​ ือแ​ นะแ​ นวน​ ั้นๆ ซึ่งจ​ ุดป​ ระสงคข์​ องก​ ารส​ ร้างห​ รือพ​ ัฒนาจ​ ะเ​ป็นต​ ัว​
กำหนดล​ กั ษณะข​ องส​ ิง่ ท​ จี่​ ะว​ ดั ลักษณะแ​ ละจ​ ำนวนข​ องก​ ลุม่ บ​ คุ คลท​ ีจ่​ ะว​ ัดห​ รือจ​ ะต​ อบเ​ครือ่ งม​ ือแ​ นะแ​ นวน​ ัน้ ๆ
ตลอด​ทั้ง​ลักษณะ​ของเ​ครื่อง​มือแ​ นะแนว เกณฑ์ก​ าร​ให้​คะแนน และเ​กณฑ์ก​ ารแ​ ปลผ​ ล​ของ​สิ่ง​ที่​วัด

       สำหรบั เ​ครือ่ งม​ อื แ​ นะแนวด​ า้ นส​ ว่ นต​ วั ท​ สี​่ ำคญั ๆ เชน่ แบบสอบถามเ​อกลกั ษณแ​์ หง่ ต​ น (Self Identity
Questionnaire) แบบสอบถาม​อัต​มโน​ทัศน์ แบบสอบถาม​ความ​เชื่อ​มั่นใจ​ตนเอง แบบ​สังเกตความ​มี​น้ำใจ
เป็นต้น

       ส่วน​เครื่องม​ ือ​แนะแนวด​ ้าน​สังคมท​ ี่ส​ ำคัญๆ เช่น แบบสอบถามก​ ารป​ รับ​ตัวก​ ับเ​พื่อน แบบสอบถาม​
การป​ รับต​ ัวก​ ับเ​พื่อน​ต่าง​เพศ แบบสอบถาม​ความเครียดใ​น​การป​ ฏิบัติง​ าน และว​ ิธี​เผชิญค​ วามเครียด​ใน​การ​
ปฏิบัติ​งาน เป็นต้น

       3.1 	หลัก​การ​พัฒนา​เคร่ือง​มือ​แนะแนว​ด้าน​ส่วน​ตัว​เพ่ือ​วัด​ความ​มี​น้ำใจ ใน​การ​พัฒนา​เครื่อง​มือ​
แนะแนว​เพื่อ​วัด​ความ​มี​น้ำใจ นัก​แนะแนว​จะ​ต้อง​ทราบ​ความ​หมาย​ของ​ความ​มี​น้ำใจ​ว่า​หมาย​ถึง​อะไร เช่น
ความ​มี​น้ำใจ​ของ​นักเรียน หมาย​ถึง พฤติกรรม​ของ​นักเรียน​ที่​แสดงออก​ถึง​ความ​เอื้อเฟื้อ​และ​ให้​ความ​
ช่วยเ​หลือผ​ ู้​อื่น​ด้วย​ความเ​ต็มใจ​และเ​หมาะ​สม

                           ลขิ สิทธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30