Page 20 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 20
1-18 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
ส่วนแบบทดสอบย่อยของกลุ่มด้านประกอบการ จะมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับการเติมรูปภาพให้สมบูรณ์ การเรียง
รูปภาพ การออกแบบโดยใช้ก้อนสี่เหลี่ยม การป ระกอบชิ้นส่วน การเขียนรหัส และเขาวงกต เป็นต้น
1.2.2 ลักษณะของบ ุคคลท ตี่ อ้ งการว ัด มีดังนี้
1) แบบท ดสอบเมทร ิซ ิสก้าวห น้า มี 3 ฉบับ ได้แก่
(1) ฉบับแรก คือ แบบทดสอบเมทริซิสก้าวหน้าที่ลวดลายของรูปเป็นสีต่างๆ
หรือฉ บับสี (Colour Progressive Matrices) ใช้ทดสอบเชาวน์ป ัญญาข องเด็กท ี่มีอายุ 5.6-11.6 ปี
(2) ฉบับที่ 2 คือ แบบทดสอบเมทริซิสก้าวหน้าฉบับมาตรฐาน (Standard
Progressive Matrices) ใช้ทดสอบเชาวน์ป ัญญาของบุคคลท ี่มีอายุตั้งแต่ 6.6 ปี ถึงอ ายุ 65 ปี
(3) ฉบับท ี่ 3 คือ แบบทดสอบเมทร ิซ สิ ก้าวห น้าข ั้นส ูง (Advanced Progressive
Matrices) ใช้ทดสอบเชาวนป์ ญั ญาข องบ ุคคลท ีม่ อี ายตุ ั้งแต่ 11.0 ปถี ึงอ ายุ 40 ปี และม กี ารศ กึ ษาต ัง้ แตร่ ะดับ
ชั้นม ัธยมศึกษาป ีท ี่ 3 ขึ้นไป
2) แบบท ดสอบเชาวนป์ ญั ญาเวคส เลอร ์ มี 3 ฉบับ ได้แก่
(1) ฉบับแรก คือ แบบทดสอบเชาวน์ปัญญาเวคสเลอร์สำหรับเด็กวัยก่อนเข้า
โรงเรียน และว ัยประถม (Wechsler Preschool and Primary Scale of Intelligence) ใช้ทดสอบเชาวน์-
ปัญญาของเด็กท ี่มีอายุ 4 ปีถึง 6 ปี 6 เดือน
(2) ฉบับที่ 2 คือ แบบทดสอบเชาวน์ปัญญาเวคส เลอร ์สำหรับเด็ก ฉบับปรับปรุง
(Wechsler Intelligence Scale for Children-Revised) ใช้ทดสอบเชาวน์ป ัญญาของบ ุคคลท ี่มีอายุ 6.6
ปีถ ึง 16.6 ปี
(3) ฉบบั ท ี่ 3 คอื แบบท ดสอบเชาวนป์ ญั ญาเวคส เลอร ส์ ำหรบั ผ ูใ้ หญฉ่ บบั ป รบั ปรงุ
(Wechsler Adult Intelligence Scale-Revised) ใช้ทดสอบเชาวน์ป ัญญาข องบ ุคคลท ีม่ ีอายุ 16 ปีถ ึง 74 ปี
1.2.3 ลักษณะข องเครอ่ื งม ือท่ีจะใช้ว ัด มีดังนี้
1) แบบท ดสอบเมทร ซิ สิ กา้ วห นา้ เปน็ แ บบท ดสอบท เี่ ยบ็ เปน็ เลม่ และม กี ระดาษค ำต อบ
แยกต ่างห าก สามารถนำมาใช้ท ดสอบได้ท ั้งเป็นกลุ่มและรายบุคคล
2) แบบท ดสอบเชาวนป์ ญั ญาเวคส เลอร ์ เป็นแ บบท ดสอบท ีแ่ บ่งเป็นแ บบท ดสอบย ่อย 2
ชุดค ือ แบบทดสอบย่อยชุดแรกเป็นการต อบคำถาม ส่วนแบบท ดสอบย่อยอีกชุดหนึ่ง เป็นการป ระกอบการ
โดยกระทำด ้วยม ือ สามารถนำมาใช้ทดสอบได้เฉพาะเป็นรายบ ุคคลเท่านั้น
1.2.4 ประโยชน์ท่ีจะนำแบบทดสอบเชาวน์ปัญญาไปใช้ในงานแนะแนวด้านการศึกษา คือ
เพื่อน ำไปใช้ว ัดเชาวน์ป ัญญาข องเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่ ผลก ารท ดสอบเชาวน์ปัญญาจะแสดงถึงร ะดับค วาม
สามารถของบุคคล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง เมื่อเปรียบเทียบกับอายุปกติของบุคคลนั้น ซึ่งเรียกว่า ไอคิว (IQ
คือ Intelligence Quotient) นอกจากนี้ ไอคิวเป็นทั้งสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสัมฤทธิ์ทางการศึกษาเดิม
และเป็นต ัวทำนายการเรียนในข ั้นต่อไป อีกท ั้งไอคิวย ังเป็นต ัวท ำนายก ารปฏิบัติง านในอ าชีพหลายอ ย่างและ
กิจกรรมอื่นๆ ในชีวิตของแต่ละบุคคลได้ดีอีกด้วย ส่วนอีกด้านหนึ่งนั้นพบว่ายังมีความสามารถในการ
ปฏิบัติง านที่ส ำคัญอ ื่นๆ อีกมากมายที่แ บบทดสอบเชาวน์ป ัญญาไม่ได้นำมาว ัด (Anastasi, 1988)
ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช