Page 19 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 19
แนวคิดในการพฒั นาเคร่อื งมือแนะแนว 1-17
1.1.4 ประโยชนท์ จ่ี ะน ำแ บบท ดสอบค วามพ รอ้ มไปใชใ้ นง านแ นะแนวด า้ นก ารศ กึ ษา คือ เพื่อ
นำไปใช้ป ระเมินค วามพ ร้อมก ่อนก ารเรียนข องเด็ก และเพื่อน ำผ ลก ารท ดสอบท ี่ได้ร ับไปเป็นข ้อมูลในก ารจ ัด
กิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนาทักษะพ ื้นฐานในการศ ึกษาเล่าเรียนให้แก่เด็ก
1.2 หลักการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้านการศึกษาเพ่ือวัดเชาวน์ปัญญา ในการพัฒนาเครื่องมือ
แนะแนวด ้านการศึกษาเพื่อว ัดเชาวน์ปัญญานั้น นักแ นะแนวค วรจ ะเข้าใจค วามห มายของค ำว ่าเชาวน์ป ัญญา
ทั้งนีเ้พราะว ่าผ ูท้ ีส่ ร้างแ บบท ดสอบเชาวนป์ ัญญาต ่างใหค้ วามห มายข องเชาวนป์ ัญญาไวแ้ ตกต ่างก ัน เช่น บิเนท์
(Binet, 1916 อ้างถ ึงใน Aiken, 1985) กล่าวว ่า เชาวน์ป ัญญาค ือค วามส ามารถท ั่วไปท ี่เกี่ยวก ับค วามส ามารถ
ของบุคคลในก ารต ัดสินใจ ในการให้เหตุผล และในการท ำความเข้าใจ ส่วนเวคสเลอร์ (Wechsler, 1958 อ้าง
ถึงใน Aiken, 1985) กล่าวว ่า เชาวน์ปัญญาคือ ความส ามารถข องบ ุคคลในก ารกร ะทำอย่างม ีจุดมุ่งห มาย ใน
การค ิดอย่างม ีเหตุผล ในการปรับตัวเข้าก ับส ิ่งแ วดล้อม ปรับต ัวเข้ากับป ัญหาและสถานการณ์ต ่างๆ
เนื่องจากแ บบท ดสอบเชาวน์ป ัญญาม ีห ลายฉ บับ ได้ม ีก ารเทียบค วามต รงก ับผ ลส ัมฤทธิ์ท างว ิชาการ
ด้วย ดังนั้น บางทีจึงเรียกแบบทดสอบเชาวน์ปัญญานี้ว่าแบบทดสอบความถนัดทางวิชาการ และมักใช้
แบบทดสอบเชาวน์ป ัญญาเป็นเครื่องม ือคัดเลือกบ ุคคลที่ต้องการเป็นข ั้นแรก และต ิดตามด ้วยแบบทดสอบ
ความถ นัดเฉพาะอ ย่าง สำหรับป ระโยชนท์ ีจ่ ะน ำแ บบท ดสอบเชาวนป์ ัญญาม าใชใ้นง านแ นะแนวด ้านก ารศ ึกษา
นั้น ส่วนมากจะนำมาใช้ในการจัดชั้นเรียนหรือเพื่อพิจารณาระดับความสามารถของนักเรียน (Anastasi,
1988)
สำหรับหลักก ารพ ัฒนาเครื่องมือแ นะแนวด้านการศ ึกษาเพื่อวัดเชาวน์ป ัญญาน ั้น ควรคำนึงถ ึงเรื่อง
ต่อไปน ี้
1.2.1 ลกั ษณะข องส ง่ิ ท ตี่ อ้ งการจ ะว ดั เกยี่ วก บั เชาวนป์ ญั ญา จะข ึน้ ก บั แ บบท ดสอบเชาวนป์ ญั ญา
แต่ละฉบับ ดังเช่น
1) แบบท ดสอบเมทร ิซิสก้าวห น้า (Progressive Matrices) พัฒนาโดย เจซ ี เรเวน (J.C.
Raven, 1988) เปน็ แ บบท ดสอบท วี่ ดั ค วามส ามารถท ัว่ ไป ซึง่ ล กั ษณะข องส ิง่ ท ตี่ อ้ งการจ ะว ดั ม เี นือ้ หาค รอบคลมุ
ความสามารถทางการคิดหาเหตุผล โดยต้องการให้ผู้รับการทดสอบศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
ลวดลายของแต่ละข้อที่มีลักษณะเป็นนามธรรม แบบทดสอบนี้ประกอบด้วยเมทริกซ์หรือลวดลาย 60 รูป
แต่ละร ูปม สี ่วนท ีข่ าดห ายไป ผู้รับก ารท ดสอบต ้องเลือกช ิ้นท ีจ่ ะน ำม าเติมใหส้ มบูรณ์ โดยเลือกจ ากช น้ิ ต า่ งๆ ที่
มีไวใ้ห้เลอื กเป็นจ ำนวน 6 หรือ 8 ชิน้ ข้อทดสอบแ บ่งเป็น 5 อนกุ รม แต่ละอ นกุ รมม เี มท รกิ ซ์ 12 รูป ที่ม ีร ะดับ
ความยากเพิ่มม ากข ึ้นตามลำดับ
2) แบบท ดสอบเชาวนป์ ญั ญาเวคส เลอร ์ (Wechsler Intelligence Test) พัฒนาโดยเดวิด
เวคส เลอร ์ (David Wechsler) ตั้งแตป่ ี ค.ศ. 1939 จนถึงป ัจจุบัน เป็นแ บบท ดสอบท ี่ว ัดค วามส ามารถท ั่วไป
ประกอบด ้วยแ บบท ดสอบย ่อย 2 ชุด ชุดแรกคือ แบบทดสอบย ่อยด ้านภ าษา (Verbal Subtests) และช ุดที่
2 คือ แบบทดสอบย ่อยด้านป ระกอบการ (Performance Subtests) นอกจากน ี้ แบบทดสอบเชาวน์ปัญญา
ของเวคส เลอร ม์ หี ลายฉ บับ แตล่ ะฉ บับต า่ งม จี ำนวนแ บบท ดส อบย อ่ ยๆ แตกต ่างก นั ทัง้ นีข้ ึน้ ก ับร ะดบั อ ายขุ อง
ผู้รับการท ดสอบ สำหรับแบบทดสอบย่อยข องก ลุ่มด ้านถ ้อยคำน ั้น ส่วนมากล ักษณะข องสิ่งที่ต้องการจ ะว ัด
นั้นม ีเนื้อหาที่เกี่ยวก ับ ความร ู้ข ่าวสารท ั่วไป เลขคณิต ความค ล้ายก ัน คำศัพท์ ช่วงต ัวเลขที่จำได้ เป็นต้น
ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช