Page 22 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 22
1-20 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
ดังน ั้น ลักษณะข องแ บบท ดสอบผ ลส ัมฤทธิน์ ั้น ไมว่ ่าจ ะเป็นแ บบอ ัตนัยห รือป รนัย จำเป็นต ้อง
คำนึงถึงค วามซ ับซ ้อนข องพ ฤติกรรมที่จะน ำมาใช้ว ัดด้วย
ส่วนคุณภาพของเครื่องมือที่จะใช้วัดนั้น ภายหลังที่ผู้สร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนได้วางแผนการสร้างแบบทดสอบ ได้ศึกษาลักษณะของข้อสอบแต่ละชนิด และได้เขียนข้อสอบแล้ว
ผู้สร้างแบบทดสอบต้องทดลองใช้ข้อสอบ หาคุณภาพของแบบทดสอบ และปรับปรุงแก้ไขข้อสอบก่อนนำ
ไปใ ช้จริง
1.3.4 ประโยชนท์ จ่ี ะนำแบบทดสอบผลส ัมฤทธไิ์ปใชใ้ นงานแ นะแนวด้านการศึกษา คือ เพื่อ
นำไปใช้วัดความสามารถทางการเรียนของผู้เรียน และเพื่อนำผลของการวัดที่ได้จากการใช้แบบทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาใช้ในการวินิจฉัยปัญหาในการเรียนรู้ของผู้เรียน และนำมาใช้ในการปรับปรุง
ก ารเรียนก ารส อน ตลอดท ั้งพ ัฒนาการเรียนรู้ข องผู้เรียน
2. หลกั การพัฒนาเครอ่ื งมือแนะแนวดา้ นอ าชพี
เครื่องม ือแ นะแนวด้านอาชีพท ี่สำคัญๆ เช่น แบบส ำรวจค วามส นใจในอ าชีพ แบบสอบถามเจตคติ
ที่มีต่ออาชีพ แบบสอบถามค ่านิยมในการทำงาน แบบสอบถามการตัดสินใจเลือกอาชีพ ซึ่งหลักการพัฒนา
เครื่องมือแนะแนวด ้านอาชีพ มีร ายละเอียดดังนี้
2.1 หลักการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้านอาชีพเพ่ือวัดความสนใจในอาชีพ การพัฒนาเครื่องมือ
แนะแนวด้านอาชีพเพื่อวัดความสนใจในอาชีพนั้นสิ่งสำคัญประการแรกคือ นักแนะแนวจะต้องระบุ
ความหมายของความสนใจในอาชีพ ซึ่งความหมายของความสนใจในอาชีพหมายถึง ความรู้สึกชอบของ
บุคคลที่จะเลือกป ระกอบอาชีพใดอ าชีพหนึ่ง (The Psychological Cooperation, 1990) นอกจากน ี้ ไครท์ส
(Crites, 1973 อ้างถ ึงใน ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ 2529: 91-94) กล่าวว ่า ความส นใจในอาชีพมีความส ัมพันธ์
กับก ารเลือกอาชีพ
สำหรับการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้านอาชีพเพื่อวัดความสนใจในอาชีพ ควรคำนึงถึงหลักการ
ต่อไปน ี้
2.1.1 ลกั ษณะข องส ง่ิ ท ตี่ อ้ งการจ ะว ดั เกย่ี วก บั ค วามส นใจในอ าชพี ประกอบด ว้ ย ความร ูส้ กึ ช อบ
ของบ ุคคลท ี่จ ะเลือกป ระกอบอ าชีพใดอ าชีพห นึ่ง ซึ่งค วามส นใจในอ าชีพท ี่ส ำคัญๆ ประกอบด ้วย ความส นใจ
ในอ าชีพบ ริการท างส ังคม บริการการศึกษา บริการด้านก ฎหมาย บริการล ูกค้า บริการส ุขภาพ เกษตรกรรม
ธุรกิจก่อสร้าง การขนส่ง การจัดการการข าย การจัดการเครื่องจักรกล งานช่างวิจิตรศิลป์ เป็นต้น
2.1.2 ลักษณะของบุคคลท่ีต้องการวัด บุคคลที่ควรจะวัดความสนใจในอาชีพ ควรจะอยู่
ในช่วงอายุตั้งแต่ 11 ปีขึ้นไป ทั้งนี้เพราะว่า ในช่วงอายุดังกล่าวความสนใจจะเป็นพื้นฐานสำคัญในการ
เลือกอาชีพ แม้ว่าการเลือกอาชีพของเด็กในช่วงอายุนี้ เด็กจะไม่คำนึงถึงความสามารถที่แท้จริงของตนเอง
เพียงแ ต่ตระหนักว ่า ความส ามารถเป็นส ิ่งจำเป็นในการเลือกอ าชีพด ้วยเหมือนก ัน (Ginzberg, 1951 อ้างถึง
ใน Zunker, 1990: 22-24)
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช