Page 27 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 27
แนวคิดในการพฒั นาเครื่องมือแนะแนว 1-25
แบบส งั เกตค วามมีน ำ้ ใจด า้ นค วามเหน็ อ กเหน็ ใจผ ้อู ่ืน
ช่อื นกั เรยี น .................................................................................................
ช่ือนกั แ นะแนวผ ้บู นั ทึกพ ฤติกรรมที่ได้จากการสังเกต ....................................
คำชแี้ จง ขอให้นักแนะแนวทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องหลังรายการพฤติกรรมท่ีกำหนดให้ โดยมีเกณฑ์
การใหค้ ะแนนของพฤตกิ รรมท ี่แสดงออกถ งึ ความม นี ำ้ ใจ ดงั นี้
ดี หมายถึง นักเรยี นป ฏบิ ตั ทิ นั ทโี ดยไมล่ ังเล ให้ 2 คะแนน
พอใช้ หมายถ งึ นักเรียนปฏิบัติด ้วยค วามล งั เล ดทู ่าทีของค นอ ืน่ ก ่อน ให้ 1 คะแนน
ต้องปรับปรุงห รือต อ้ งแกไ้ ข หมายถ ึง นักเรียนไมป่ ฏิบัติ หรือหาโอกาสหลีกเล่ียง ให้ 0 คะแนน
สถานการณ์
ในชั่วโมง สปช. ครูมอบหมายให้นักเรียนสรุปใจความสำคัญจากเร่ือง “ข่าวเหตุการณ์สำคัญในรอบ
สปั ดาหท์ ผี่ า่ นม า” แลว้ ใหน้ กั เรยี นอ อกม าร ายงานห นา้ ช นั้ ท ลี ะค น (บางค นก ส็ รปุ เหตกุ ารณถ์ กู ต อ้ ง บางค นก ส็ รปุ
ไม่ถกู ต อ้ ง เพอ่ื นๆ กห็ ัวเราะเยาะเม่ือเพือ่ นสรุปผ ดิ บางค นก ็ปลอบเพื่อน บางค นก ็ไมใ่หก้ ำลังใจเพอื่ น บางค น
ก็ส่งเสยี งดงั ไมฟ่ งั เพอ่ื น)
ความมีนำ้ ใจดา้ นความเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ื่น ดี พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรุง
1. ไมห่ วั เราะเยาะเมอื่ เพอ่ื นรายงานผดิ ................................................ ................... .................................
2. ไม่ส่งเสียงดังรบกวนขณะเพอ่ื นกำลงั รายงาน.................................. ................... .................................
3. พดู ใหก้ ำลังใจเพื่อนเมื่อเพอ่ื นรายงานผดิ ........................................ ................... .................................
4. พูดปลอบใจเพื่อนเม่ือเพอ่ื นพูดไม่ถกู ต้อง....................................... ................... .................................
ภายหลังน ักแนะแนวส ังเกตพฤติกรรมความมีน้ำใจข องนักเรียนแล้ว นักแนะแนวก็ประมวล
คำต อบว ่า นักเรียนม ีพฤติกรรมความมีน ้ำใจมากน ้อยเพียงใด ควรจ ะปรับปรุงแ ก้ไขหรือไม่
3.1.4 ประโยชน์ท่ีจะนำแบบสังเกตความมีน้ำใจไปใช้ในงานแนะแนว คือ เพื่อนำไปพัฒนา
ความม นี ำ้ ใจข องน ักเรยี น เพราะบ ุคคลท มี่ นี ำ้ ใจจ ะเป็นบ คุ คลท เี่อือ้ อ ารตี อ่ ผ อู้ ืน่ ไมเ่ หน็ แ กต่ วั ชว่ ยเหลือเกือ้ กลู
ผู้อ ื่นตามควร มีจ ิตใจเอื้อเฟื้อ มีความสุขกับการท ี่เป็นผู้ให้ และเป็นผ ู้ที่ทำให้บ ุคคลอื่นมีความสุข
3.2 หลักการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้านส่วนตัวเพ่ือวัดความเชื่อมั่นใจตนเอง ในการพัฒนา
เครื่องมือแนะแนวด้านส่วนตัวเพื่อวัดความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนนั้น นักแนะแนวควรจะกำหนด
ลักษณะของสิ่งที่ต้องการจ ะวัดเกี่ยวก ับค วามเชื่อม ั่นในตนเอง ลักษณะของบ ุคคลที่ต้องการว ัด ลักษณะของ
เครื่องมือที่จะใช้ว ัด และป ระโยชน์ที่จ ะน ำเครื่องม ือแนะแนวน ั้นไปใช้ในง านแ นะแนว ดังตัวอย่างต ่อไปนี้
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช