Page 24 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 24
1-22 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
2.2.4 ประโยชนท์ จี่ ะน ำแ บบสอบถามเจตคตใิ นก ารเลอื กอ าชพี ไปใชใ้ นง านแ นะแนวด า้ นอ าชพี
คือ เพื่อนำผลจากการตอบแบบสอบถามเจตคติในการเลือกอาชีพ ไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาเจตคติใน
การเลือกอาชีพแก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกอาชีพได้เหมาะสมกับตนเองให้มากที่สุด และ
มีความร ู้สึกที่ดีต ่ออาชีพท ี่ได้เลือก
2.3 หลกั การพ ฒั นาเครื่องม ือแ นะแนวด า้ นอาชพี เพอ่ื วดั ค า่ นยิ มในการทำงาน การพ ัฒนาเครื่องมือ
แนะแนวด้านอาชีพเพื่อวัดค่านิยมในการทำงานนั้น นักแนะแนวต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ
ค่าน ิยมว ่า หมายถ ึง ความเชื่ออ ย่างห นึ่งซ ึ่งมีล ักษณะถ าวร ที่เชื่อว ่า “วิถีป ฏิบัติ” บางอย่างหรือ “เป้าหมาย
ของชีวิต” บางอย่างนั้น เป็นสิ่งที่ตัวเองหรือสังคมเห็นดีเห็นชอบ สมควรที่จะยึดถือหรือปฏิบัติมากกว่า
“วิถปี ฏิบัติ” หรือ “เป้าห มายช ีวิตอ ย่างอ ื่น” นอกจากน ี้ ธรรมชาตขิ องค ่าน ิยมท ีส่ ำคัญๆ คือ ค่าน ิยมม ลี ักษณะ
ยืนยง ถาวร แต่อาจจ ะเปลี่ยนแปลงได้ต ามป ระสบการณ์ในช ่วงช ีวิตข องบ ุคคล ไม่ใช่เปลี่ยนแปลงในล ักษณะ
ชั่วครู่ชั่วยามตามอารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ ของมนุษย์ ทั้งนี้เพราะว่า ค่านิยมจะมีระดับความสำคัญแตกต่างกัน
คา่ น ยิ มท บี่ คุ คลจ ดั ใหม้ รี ะดบั ส ำคญั ม าก จะเปลีย่ นแปลงย ากก วา่ ค า่ น ยิ มท มี่ รี ะดบั ค วามส ำคญั น อ้ ย นอกจากนี้
ค่านิยม ยังหมายถึง ความเชื่อ และเป็นความเชื่อที่มีทิศทาง อีกทั้งเป็นความเชื่อที่สามารถประเมินได้ว่า
สิ่งใดดีห รือไม่ด ี (Rokeach, 1969)
ส่วนก ินซ ์เบอร์กและค ณะ (Ginzberg and Other, 1951 อ้างถึงใน Zunker, 1990: 22-24) ได้
กล่าวถึง ค่านิยมในส่วนที่สัมพันธ์กับงานหรืออาชีพไว้ว่า ค่านิยมของบุคคลจะช่วยในการวางแผน
การเลือกงานหรืออาชีพของบุคคลนั้น และค่านิยมจะเป็นสิ่งที่กำหนดว่า บุคคลนั้นจะเลือกงานหรือเลือก
ประกอบอ าชีพใดและเมื่อเขาเลือกง านห รืออ าชีพนั้นแ ล้ว เขาจะมีค วามส ุขในงานห รืออ าชีพหรือไม่
ดังน ั้น การพ ัฒนาเครื่องม ือแนะแนวด้านอ าชีพเพื่อวัดค ่านิยมในการท ำงาน ควรค ำนึงถ ึง หลักการ
ต่อไปน ี้
2.3.1 ลักษณะของสิ่งที่ต้องการจะวัดเกี่ยวกับค่านิยมในการทำงาน ที่สำคัญๆ ประกอบด้วย
สิ่งที่บ ุคคลเชื่อว่า มีค วามสำคัญในการทำงานข องเขา สิ่งต่างๆ เหล่านี้ เป็นความร ู้สึกพึงพอใจที่คนเราม ักจะ
แสวงหาจากงานที่เขาทำ หรือเป็นความรู้สึกพึงพอใจอันเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากงานของเขา สิ่งที่คนเรายึดถือ
แต่ละอ ย่างน ี้ม ีค วามส ำคัญไม่เท่าเทียมก ันเสมอไป บางอ ย่างอ าจจ ะม ีค วามส ำคัญอ ย่างใหญ่ห ลวงต ่อค นบ าง
คน แตบ่ างอ ย่างก อ็ าจจ ะม คี วามส ำคัญน ้อยม ากต ่อค นอ ื่นๆ ค่าน ิยมในก ารท ำงานท ีส่ ำคัญๆ ได้แก่ ค่าน ิยมใน
การท ำงานด้านความคิดส ร้างสรรค์ ด้านการบ ริหาร ด้านสัมฤทธิผล ด้านสภาพแวดล้อม ด้านความสัมพันธ์
กับห ัวหน้าง าน ด้านวิถีช ีวิต ด้านความม ั่นคงป ลอดภัย ด้านผู้ร ่วมงาน ด้านสุน ทร ีย์ ด้านความมีศ ักดิ์ศรี ด้าน
ความม ีอ ิสระ ด้านผลต อบแทน ด้านบริการสังคม ด้านการกร ะต ุ้นให้ใช้ปัญญา และด ้านงานอาชีพอิสระ
2.3.2 ลกั ษณะข องบ คุ คลท ต่ี อ้ งการว ดั วัยท ี่เหมาะส มท ี่จ ะว ัดค ่าน ิยมในก ารท ำงาน คือ บุคคล
ที่อ ยู่ในว ัยรุ่น จนถึงว ัยผ ู้ใหญ่
2.3.3 ลกั ษณะข องเครอื่ งม อื ท จี่ ะใชว้ ดั ค า่ น ยิ มในก ารท ำงาน เช่น แบบสอบถามค ่าน ิยมในก าร
ทำงาน
ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช