Page 21 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 21
แนวคิดในการพัฒนาเครือ่ งมือแนะแนว 1-19
1.3 หลักการพัฒนาเคร่ืองมือแนะแนวด้านการศึกษาเพ่ือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การพัฒนา
เครื่องมือแนะแนวด้านการศึกษาเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นเพื่อให้สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนของนักเรียนได้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการเรียนการสอน จำเป็นอย่างยิ่งที่ครูผู้สอนจะต้อง
ใช้แบบทดสอบที่สร้างขึ้นเอง (Teacher-Made-Test) เพื่อให้แบบทดสอบที่สร้างขึ้นนั้น สามารถใช้วัด
ผลสัมฤทธิ์เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาและพฤติกรรมการเรียนรู้บางอย่างที่ครูต้องการเน้นเป็นพิเศษ นอกจากนี้
ยังสามารถน ำผลของการว ัดที่ได้จากการใช้แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นๆ มาใช้ในการปรับปรุง
การเรียนการสอน และใช้ในการวินิจฉัยปัญหาในการเรียนรู้ของนักเรียนบางคนในชั้นเรียน ตลอดทั้งยัง
สามารถใชเ้ป็นเครือ่ งม อื ป ระเมนิ ก ารส อนข องค รู สว่ นแ บบท ดสอบผ ลส ัมฤทธิท์ างการเรยี นท ีเ่ป็นแ บบท ดสอบ
มาตรฐาน (Standardized Test) นั้นไม่สามารถที่จ ะใช้ได้ด ีสอดคล้องก ับจ ุดประสงค์ข องก ารเรียนการส อน
ดงั ก ลา่ วข า้ งต น้ น ี้ ทัง้ นเี้ พราะว า่ แบบท ดสอบม าตรฐานน ัน้ ม ุง่ ท จี่ ะว ดั ผลส มั ฤทธทิ์ างการเรยี นในจ ดุ ห มาย กว า้ งๆ
ไม่ได้เน้นเฉพาะเจาะจงในเรื่องใดเรื่องห นึ่งเป็นพ ิเศษ เพียงแ ต่มีจุดม ุ่งหมายเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนที่เรียนมาแล้วต ลอดป ีก ารศึกษา
สำหรับหลักการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้านการศึกษาเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้น ควร
คำนึงถ ึงเรื่องต่อไปน ี้
1.3.1 ลักษณะของสิ่งที่ต้องการจะวัดเก่ียวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสร้างหรือพัฒนา
แบบท ดสอบผ ลสัมฤทธิ์ท างการเรียน สิ่งส ำคัญท ี่ควรจ ะพ ิจารณาท ี่สำคัญๆ มีด ังนี้
1) จดุ ม งุ่ ห มายห รอื ว ตั ถปุ ระสงคใ์ นก ารเรยี นว ชิ าน น้ั ๆ ซึง่ ผ ทู้ เี่ ปน็ ค รผู สู้ อนค วรจ ะเขยี นไว้
อย่างช ัดเจนก ่อนท ีจ่ ะท ำการส อนแ ต่ละว ิชา ว่าม วี ัตถุประสงค์ในก ารส อนเช่นไร และจ ะต ้องบ ่งช ีถ้ ึงพ ฤติกรรม
ของนักเรียนหลังจากที่ได้เรียนจบไปแล้วด้วยว่า พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนควรจะเป็นไปอย่างไร
2) เน้ือหาวิชาที่สอนซึ่งควรจะได้ระบุไว้เป็นหัวข้อหรือเรื่องย่อๆ ที่สอดคล้องกับ
จ ุดม ุ่งหมายในการเรียนว ิช าน ั้นๆ
หลังจากได้พิจารณาสิ่งสำคัญทั้งสองประการดังกล่าวแล้ว ผู้สร้างหรือพัฒนาแบบทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จะต้องวางแผนในการสร้างแบบทดสอบและกำหนดรูปแบบของแบบทดสอบ
การเขียนข้อสอบ โดยเนื้อหาของข้อสอบจ ะต้องส อดคล้องกับจ ุดม ุ่งห มายแ ละเนื้อหาของวิชาน ั้นๆ
1.3.2 ลกั ษณะของบคุ คลที่ต้องการว ัด คือ นักเรียนหรือผู้เรียนในแต่ละร ะดับก ารศึกษา
1.3.3 ลักษณะของเคร่ืองมือท่ีจะใช้วัด เครื่องมือหรือแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมี
ลักษณะข้อสอบทั้งแบบอัตนัยและปรนัย และเพื่อให้การออกข้อสอบครอบคลุมจุดมุ่งหมายของการเรียน
การสอนแต่ละวิชา ซึ่งหากเป็นไปได้ควรเขียนจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนในรูปพฤติกรรม ซึ่งบลูม
(Bloom อ้างถ ึงใน Stanley and Hopkins, 1973) กล่าวว ่า พฤติกรรมข องม นุษย์ด ้านพ ุทธิพ ิสัย จำแนกเป็น
6 ระดบั โดยเรยี งล ำดบั จ ากพ ฤตกิ รรมท ซี่ บั ซ อ้ นน อ้ ยไปถ งึ พ ฤตกิ รรมท ซี่ บั ซ อ้ นม ากท ีส่ ดุ ด งั นคี้ อื ความร ู้ ความ
เข้าใจ การนำไปใช้ การว ิเคราะห์ การส ังเคราะห์ และก ารประเมินค ่า ดังนั้น ลักษณะของข้อสอบควรจัดเรียง
ตามล ำดับพฤติกรรม ทั้งนี้ มีเหตุผลว ่า พฤติกรรมของแ ต่ละระดับเป็นผ ลของความต ่อเนื่องจากพฤติกรรม
ระดับต ้นๆ นั่นค ือ ในการที่จ ะแสดงพ ฤติกรรมด้านการนำไปใช้ได้นั้น นักเรียนจะต้องมีความเข้าใจเสียก ่อน
และก่อนท ี่จ ะเกิดความเข้าใจได้น ั้น นักเรียนก ็จ ะต้องมีความร ู้ในเรื่องนั้นๆ เสียก ่อน เป็นต้น
ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช