Page 18 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 18
1-16 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
เรอ่ื งท ่ี 1.2.1 หลักการพ ฒั นาเคร่ืองม อื แ นะแนว
หลักก ารพ ฒั นาเครื่องม ือแ นะแนวท ีส่ ำคัญค อื จะท ำอ ย่างไรจ งึ จ ะส ามารถส รา้ งข อ้ ค ำถามห รอื ข ้อสอบ
ให้สามารถวัดในสิ่งที่ต้องการวัด ซึ่งสอดคล้องกับ อุทุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน (2535: 29) ที่กล่าวว่า
หลักการสร้างข้อสอบค ือ ทำอ ย่างไรจึงจ ะให้ข ้อสอบห รือข ้อคำถามส ะท้อนความจริงของสิ่งที่วัด เช่น ข้อสอบ
นี้สะท้อนค วามร ู้ความสามารถที่แท้จ ริงข องผู้ต อบ หรือข้อสอบนี้สะท้อนความร ู้สึกที่แท้จ ริงของผู้ตอบ หรือ
ข้อสอบน ี้ส ะท้อนท ักษะที่แท้จ ริงของผ ู้ต อบ การส ร้างข ้อสอบเพื่อส ะท้อนความจ ริงดังก ล่าว อยู่ที่ก ารวางแผน
และการดำเนินการสร้างท ี่เป็นร ะบบ
หลักการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม ประกอบด้วย
หลักก ารท ีส่ ำคัญๆ ดังนีค้ ือ นักแ นะแนวห รือผ ูท้ ีจ่ ะส ร้างเครื่องม ือแ นะแนวด ้านต ่างๆ ดังก ล่าว จะต ้องค ำนึงถ ึง
ประการที่ 1 ลักษณะข องสิ่งท ี่ต้องการจ ะว ัด ดังนั้น นักแนะแนวจ ะต้องม ีความร ู้เกี่ยวกับเนื้อหาของ
สิ่งที่ต ้องการจะวัด
ประการที่ 2 ลักษณะข องบ ุคคลที่ต ้องการว ัด ซึ่งอาจจะเป็นเด็ก วัยร ุ่น หรือผู้ใหญ่
ประการที่ 3 ลักษณะข องเครื่องม ือและคุณภาพข องเครื่องมือท ี่จะใช้วัด
ประการที่ 4 ประโยชน์ท ี่จะน ำเครื่องม ือไปใช้ในงานแ นะแนว
1. หลกั การพ ัฒนาเคร่ืองม อื แนะแนวด ้านการศ ึกษา
เครื่องม ือแ นะแนวด ้านก ารศ ึกษาท ีส่ ำคัญๆ เช่น แบบท ดสอบค วามพ ร้อม แบบท ดสอบเชาวนป์ ัญญา
แบบท ดสอบผ ลสัมฤทธิ์ท างการเรียน ซึ่งห ลักก ารพัฒนาแบบทดสอบต ่างๆ ดังก ล่าวม ีรายล ะเอียด ดังนี้
1.1 หลักการพัฒนาเคร่ืองมือแนะแนวด้านการศึกษาเพ่ือวัดความพร้อม ในการพัฒนาเครื่องมือ
แนะแนวเพือ่ ว ดั ค วามพ รอ้ ม นกั แ นะแนวจ ะต อ้ งท ราบค วามห มายข องค วามพ รอ้ มว า่ ห มายถ งึ คณุ สมบตั เิ ฉพาะ
ที่เหมาะสมเกี่ยวกับค วามร ู้แ ละท ักษะเบื้องต้นท ี่จ ำเป็นต้องม ีก ่อนท ี่จ ะเรียนหนังสือข องเด็ก และจ ะต ้องค ำนึง
ถึงหลักการพ ัฒนาเครื่องม ือแนะแนวที่จ ะวัดความพร้อมในเรื่องต่อไปนี้
1.1.1 ลกั ษณะข องส งิ่ ท ต่ี อ้ งการจ ะว ดั เกย่ี วก บั ค วามพ รอ้ มก อ่ นท จ่ี ะเรยี น ประกอบด ้วย ความ
สามารถในการจำสิ่งที่อ่านให้ฟัง ความสามารถในการรู้จักพยัญชนะต่างๆ ความสามารถในการจับคู่ภาพที่
เหมือนกัน ความส ามารถในก ารเข้าใจภาษา และความส ามารถในก ารเข้าใจเกี่ยวกับจ ำนวนห รือตัวเลข
1.1.2 ลกั ษณะของบ คุ คลท ่ตี ้องการวดั บุคคลที่ต ้องการวัดค วามพ ร้อมก่อนที่จ ะเรียนหนังสือ
คือ เด็กอนุบาล เด็กระดับป ระถมศึกษาป ีที่ 1 และ 2
1.1.3 ลักษณะของเครื่องมือที่จะใช้วัด คือ แบบทดสอบความพร้อม เช่น แบบทดสอบ
ความพร้อมเมโทรโปลิแตน (Metropolitan Readiness Tests) ที่พัฒนาโดย เนอร์ส และแมคกาวแรน
(Nurss and McGauran) เป็นต้น ซึ่งแ บบท ดสอบค วามพ ร้อมน ี้ส ามารถน ำม าใช้ท ดสอบได้ท ั้งเป็นกล ุ่มแ ละ
รายบุคคล
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช