Page 14 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 14
1-12 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
เร่ืองท ่ี 1.1.2 ขอบข่ายของการพ ฒั นาเคร่อื งมือแ นะแนว
ขอบข่ายของการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวที่สำคัญ จำแนกเป็น 3 ด้านคือ การพัฒนาเครื่องมือ
แนะแนวด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม สำหรับเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่ โดยมีประเด็น
สำคัญๆ ดังนี้
1. ขอบข่ายข องการพฒั นาเครอื่ งม ือแ นะแนวด้านก ารศกึ ษา
เครื่องมือแ นะแนวด้านการศึกษา เป็นเครื่องม ือที่น ักแนะแนวส ามารถสร้างขึ้นใช้เอง และเครื่องมือ
มาตรฐานท างการแนะแนว ประกอบด ้วย เครื่องมือที่ใช้วัดด ้านพุทธิพิสัย จิตพ ิสัย และทักษะพ ิสัย สำหรับ
เด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่ ดังนั้น ขอบข่ายของการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้านการศึกษา ควรพัฒนาให้
ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการวัดในการแนะแนวด้านการศึกษา เพื่อจะได้นำข้อมูลที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน
การแนะแนวด ้านก ารศึกษาต ่อไป
สาระสำคัญข องข อบข่ายของก ารพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้านการศ ึกษาท ี่สำคัญๆ มีดังนี้
1.1 เครอื่ งม อื แ นะแนวด า้ นก ารศ กึ ษาท ใ่ี ชว้ ดั ด า้ นพ ทุ ธพิ สิ ยั ประกอบด ้วยแ บบท ดสอบต ่างๆ จำแนก
เป็น แบบท ดสอบผ ลส ัมฤทธิ์ท างการเรียน แบบทดสอบเชาวน์ป ัญญา แบบท ดสอบค วามถนัดท างการเรียน
แบบท ดสอบค วามจ ำ แบบท ดสอบเหล่าน ี้จ ะส ร้างข ึ้นต ามจ ุดม ุ่งห มายในก ารส ร้างแ บบท ดส อบ นั้นๆ ตลอดท ั้ง
มีลำดับขั้นต อนก ารสร้างอ ย่างม ีระบบ
1.2 เครือ่ งมือแนะแนวด ้านการศ กึ ษาทใ่ี ช้วัดด้านจติ พิสัย ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบส ำรวจ
แบบวัด เช่น แบบสอบถามเจตคติที่มีต่อการเรียน แบบสำรวจความสนใจในการเรียน แบบวัดแรงจูงใจ
ใฝ่สัมฤทธิ์ เป็นต้น เครื่องมือแนะแนวทางการศึกษาที่ใช้วัดด้านจิตพิสัยเหล่านี้ นิยมสร้างเป็นแบบกำหนด
สถานการณ์ เพราะเชื่อว่าจะวัดได้ตรงกับความเป็นจริงมากกว่าแบบอื่น แต่บางคนก็นิยมสร้างโดยใช้
มาตราส่วนประเมินค่าตามแนวข องล ิเคิร์ต (Likert)
1.3 เครื่องมือแนะแนวด้านการศึกษาท่ีใช้วัดด้านทักษะ เป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นเพื่อวัดการปฏิบัติ
ซึ่งประกอบด้วย แบบสังเกต หรือแบบประเมินผลการปฏิบัติงานโดยเน้นภาคปฏิบัติที่มีลักษณะเป็นแบบ
ตรวจสอบร ายการ เป็นต้น
2. ขอบข่ายของการพ ฒั นาเครอ่ื งมือแ นะแนวด้านอาชีพ
การแนะแนวอาชีพ เป็นกระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้มีอาชีพที่เหมาะสมและประสบความสำเร็จ
ในการประกอบอาชีพตามความต้องการ ดังนั้น กระบวนการแนะแนวอาชีพจึงเป็นกระบวนการต่อเนื่อง
และต้องใช้เวลา เพราะจะต้องเริ่มตั้งแต่พิจารณาบุคคลแต่ละวัยในด้านต่างๆ เช่น ความสนใจ ความถนัด
ความส ามารถ บุคลิกภาพที่สอดคล้องก ับอ าชีพ และเจตคติที่ม ีต่ออ าชีพ แล้วนำข ้อมูลเหล่าน ี้ม าพ ิจารณาว่า
ลิขสทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช