Page 12 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 12
1-10 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
1.5 แบบส มั ภาษณ์(AnInterview) เปน็ เครือ่ งม อื ท ใี่ ชใ้ นก ารเกบ็ ร วบรวมข อ้ มลู ท ไี่ ดจ้ ากก ารส มั ภาษณ์
ที่เป็นมาตรฐาน (Standardized Interviewing) สำหรับการสัมภาษณ์น ั้นสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทค ือ
การสัมภาษณ์เพื่อห าข ้อเท็จจริง และก ารสัมภาษณ์เพื่อป รึกษาปัญหา
แบบสัมภาษณ์ที่ดีจะต้องกำหนดจุดมุ่งหมายในการสัมภาษณ์ เนื้อหาที่จะสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์
ผู้ถูกสัมภาษณ์ วิธีการสัมภาษณ์ รูปแบบก ารสัมภาษณ์ ซึ่งได้แก่ การส ัมภาษณ์แ บบมีโครงสร้าง (Structure
Interviews) กับแ บบไ ม่มีโครงสร้าง (Unstructure Interviews) สำหรับก ารส ัมภาษณ์แ บบม ีโครงสร้างน ั้นจ ะ
ตอ้ งป ระกอบด ว้ ยแ บบส ัมภาษณท์ มี่ รี ายการข อ้ ความเพือ่ ซ กั ถ าม มจี ุดเน้นป ระเด็นส ำคญั ๆ เรยี บเรียงข ้อความ
ใหเ้ปน็ ร ะบบ ไมส่ มั ภาษณซ์ ำ้ ไปซ ำ้ ม า ต้องม กี ารส ร้างแ ละผ า่ นก ารท ดลองใช้ และภ ายห ลงั ก ารส มั ภาษณห์ รอื ใน
ระหว่างก ารส ัมภาษณ์จ ะต ้องม วี ิธีก ารจ ดบ ันทึกก ารส ัมภาษณ์ เพื่อน ำข ้อมูลท ีไ่ดจ้ ากก ารส ัมภาษณ์ไปว ิเคราะห์
และสรุปผล ก่อนน ำไปประยุกต์ใช้ต ่อไป
ข้อค วรค ำนึงข องผ ู้ส ร้างแ บบส ัมภาษณ์ นอกเหนือจ ากส าร ะส ำคัญๆ ดังก ล่าวข ้างต ้นแ ล้ว ผู้ส ร้างห รือ
พฒั นาแ บบส ัมภาษณ์ จะต ้องพ ยายามส ร้างค ำถามใหเ้ปน็ ค ำถามท ีเ่ ชื่อถ อื ไดซ้ ึง่ ห มายความว า่ ไมว่ ่าผ ูส้ มั ภาษณ์
จะเป็นใคร จะต ้องส ามารถค วบคุมค ำถามให้เหมือนก ันท ุกค น และถ ามท ุกค นเหมือนก ัน แต่ผ ู้ส ัมภาษณ์ต ้อง
มีทักษะแ ละจรรยาบ รรณในการสัมภาษณ์
ส่วนการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างนั้น ผู้สัมภาษณ์จะส ัมภาษณ์เรื่องต ่างๆ โดยไม่กำหนดเนื้อหา
สาระที่เป็นร ะบบ คิดจ ะสัมภาษณ์อ ะไรก็ส ัมภาษณ์ ทำให้ได้ข้อมูลที่ไม่เป็นร ะบบ
1.6 แบบส งั เกต เปน็ เครือ่ งม อื ท ใี่ ชใ้ นก ารเกบ็ ร วบรวมข อ้ มลู ท ไี่ ดจ้ ากก ารส งั เกตบ คุ คลเปน็ ร ายบ คุ คล
หรือเป็นกลุ่ม ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ทั้งนี้ ขึ้นก ับจ ุดม ุ่งห มายของก ารส ังเกต วิธีก ารส ังเกต การบ ันทึกการส ังเกต
และการหาค ่าส ัมประสิทธิ์ค วามสอดคล้องข องก ารสังเกต
หลังจากนักแนะแนวได้ทราบความหมายและลักษณะที่สำคัญๆ ของเครื่องมือต่างๆ ที่จะนำไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นง านแ นะแนวแ ลว้ นกั แ นะแนวค วรจ ะไดท้ ราบส าระส ำคญั ข องเรือ่ งท ี่ 1.1.1 เกีย่ วก บั วตั ถปุ ระสงค์
และความสำคัญของการพัฒนาเครื่องมือแนะแนว ก่อนที่จะดำเนินการสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือแนะแนว
ต่อไป
2. วัตถุประสงคข์ องก ารพัฒนาเครอื่ งมือแนะแนว
วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวมีดังนี้คือ เพื่อให้นักแนะแนวมีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวก ับความส ำคัญข องก ารพ ัฒนาเครื่องม ือแ นะแนว ขอบข่ายข องก ารพ ัฒนาเครื่องม ือแ นะแนว
หลักก ารแ ละแ นวทางการพ ัฒนาเครื่องม ือแ นะแนว สามารถพัฒนาห รือส ร้างเครื่องม ือแ นะแนวให้ส อดคล้อง
กบั ล กั ษณะข องส ิง่ ท ตี่ อ้ งการจ ะว ดั ลกั ษณะข องบ คุ คลท ตี่ อ้ งการว ดั ลกั ษณะข องเครือ่ งม อื ท จี่ ะใชว้ ดั ประโยชน์
ที่จะนำเครื่องมือไปใช้ในการแนะแนว ตลอดทั้งสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวไป
ประยุกต์ใช้ในงานแ นะแนว เพื่อให้ได้ข้อมูลต ่างๆ ที่เชื่อถ ือได้ที่เกี่ยวข้องก ับผ ู้รับบ ริการ และนำข้อมูลน ั้นๆ
มาใช้ป ระโยชน์ในก ารคัดเลือก จำแนก วินิจฉัย ตลอดทั้งพ ยากรณ์ ลักษณะ ปัญหา หรือเรื่องร าวต ่างๆ ของ
ผู้รับบริการ เพื่อให้การแนะแนวห รือก ารปรึกษา ตลอดทั้งวางแผนที่จ ะป้องกันปัญหา แก้ปัญหา และพัฒนา
ผู้รับบริการทั้งเด็ก วัยร ุ่น และผ ู้ใหญ่ต ่อไป
ลิขสิทธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช