Page 32 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 32
1-30 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
เรื่องท่ี 1.2.2 แนวทางก ารพ ัฒนาเครอ่ื งม ือแนะแนว
ในการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัว
และส ังคม นักแ นะแนวจำเป็นจะต ้องทราบแนวทางก ารพัฒนาเครื่องมือแนะแนว ต้องทราบจ ุดมุ่งหมายข อง
การพ ัฒนาเครื่องมือแ นะแนว ต้องม ีค วามร ู้ในส ิ่งท ี่จ ะว ัดห รือเนื้อหาส าระข องส ิ่งท ี่จ ะว ัด ต้องค ำนึงถ ึงล ักษณะ
ของเครื่องมือแนะแนว ซึ่งจำแนกเป็นเครื่องมือทางการแนะแนวที่สร้างขึ้นใช้เอง และเครื่องมือมาตรฐาน
ทางการแนะแนว ตลอดท ั้งค วรม ีความรู้พื้นฐานเกี่ยวก ับก ารส ร้างเครื่องม ือแนะแนว
สำหรับส าระสำคัญของแนวทางการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวประกอบด ้วย การกำหนดจ ุดมุ่งห มาย
ของก ารพ ัฒนาเครื่องม ือแ นะแนว การก ำหนดข อบข่ายข องเครื่องม ือแ นะแนวท ีต่ ้องการพ ัฒนา การด ำเนินก าร
สร้างเครื่องมือแนะแนว การหาคุณภาพของเครื่องมือแนะแนว และการนำเครื่องมือแนะแนวไปใช้ดัง
รายละเอียดท ี่สำคัญๆ ต่อไปนี้
1. การกำหนดจุดม งุ่ หมายข องการพ ฒั นาเคร่ืองม ือแ นะแนว
เครื่องมือแนะแนวเป็นเครื่องมือที่นำมาใช้วัดลักษณะของผู้รับบริการที่ควรวัด ลักษณะดังกล่าว
ได้แก่ ลักษณะท ี่แ สดงถ ึงค วามร ู้ ความค ิด อารมณ์ จิตใจ สังคม และร ่างกาย ตลอดท ั้งพ ัฒนาการข องล ักษณะ
ดังก ล่าวในแ ต่ละวัยโดย
1.1 จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเคร่ืองมือแนะแนวควรกำหนดให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญๆ ดัง
ต่อไปนี้ (Stanley and Hopkins, 1978; โกวิทย์ ประวาลพฤกษ์ และสมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ 2527: 22
และอุทุมพร จามรมาน 2532: 1)
1.1.1 เพ่ือจัดตำแหน่ง (Placement) เป็นการบอกให้ทราบว่าความสามารถหรือลักษณะของ
ผู้รับบริการที่ได้รับการวัดโดยใช้เครื่องมือแนะแนวอยู่ในตำแหน่งใดของกลุ่ม ซึ่งการจัดตำแหน่งนี้จำแนก
จุดม ุ่งหมายไว้ ดังนี้
1) เพอ่ื ค ดั เลือก (Selection) เป็นการว ัดเพื่อชิงเอาตำแหน่งต ามเกณฑ์หรือระดับความร ู้
ความสามารถและล ักษณะบ ุคลิกภาพท ี่กำหนด เช่น ในการส อบคัดเลือก เป็นต้น
2) เพ่ือจำแนก (Classification) เป็นการวัดว่าผู้รับบริการที่เข้ารับการสอบอยู่ตำแหน่ง
ใดของก ลุ่ม ทั้งหมดเป็นการแจกแจงจ ำนวนคนตามค วามส ามารถข องผู้รับบริการท ี่เข้าร ับการส อบ
1.1.2 เพื่อการเปรียบเทียบ (Comparison) หรือเพ่ือการวัด (Assessment) เป็นการวัดว่า
ผู้รับบริการแต่ละคน หรือผู้รับบริการแต่ละกลุ่มพัฒนาขึ้นจากเดิมเท่าใด เช่น ก่อนการให้การปรึกษาและ
ภายหลังการให้การปรึกษา ผู้รับบริการมีความเชื่อมั่นในตนเองเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด การวัดประเภทนี้
จะใช้แ บบวัดห รือแบบท ดสอบฉบับเดียวกัน โดยการส อบซ้ำ 2 ครั้ง คือ ทดสอบก ่อนการให้การปรึกษา และ
ภายหลังก ารให้การปรึกษา
ลขิ สิทธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช