Page 40 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 40
1-38 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
4.2 การว เิ คราะหค์ ณุ ภาพข องเครอ่ื งม อื แ นะแนว เครื่องม ือแ นะแนวท ีม่ คี ุณภาพจ ะต ้องม คี วามต รง
ความเที่ยง และความเป็นมาตรฐาน ดังร ายละเอียดต ่อไปน ี้
4.2.1 เครอื่ งม อื แ นะแนวท มี่ คี วามต รง เปน็ เครือ่ งม อื แ นะแนวท สี่ ามารถว ดั ในส ิง่ ท ตี่ อ้ งการว ดั
ได้ต ามจุดมุ่งหมาย ความตรงแบ่งเป็น 4 ประเภทคือ (วิเชียร เกตุส ิงห์ 2524: 10-11)
1) ความต รงต ามเนอื้ หา หมายถ ึง การท ีเ่ครื่องม ือแ นะแนวม ขี ้อค ำถามห รือม ีเนื้อหาต รง
ตามเรื่องท ี่จ ะวัด
2) ความตรงตามโครงสร้าง หมายถึง การที่เครื่องมือแนะแนววัดได้ตรงตามลักษณะ
หรือโครงสร้างทางจ ิตวิทยา
3) ความตรงตามสภาพ หมายถึง ลักษณะที่เครื่องมือแนะแนวสามารถวัดได้ตรงกับ
สภาพความเป็นจริงของสิ่งที่ถูกวัดตามที่กำหนดไว้หรือตามเกณฑ์ที่ต้องการ เช่น การวัดทรรศนะข องผู้รับ
บริการที่มีต่อนักแนะแนว ถ้าผลการวัดมีความตรงตามสภาพก็หมายความว่า ผลสรุปที่ได้จะต้องเป็นเช่น
เดียวก ับความจ ริง
4) ความต รงเชงิ พ ยากรณ์ เป็นค วามต รงล ักษณะห นึ่งท ีอ่ าจร วมล ักษณะอ ื่นๆ เข้าไวด้ ้วย
หมายถึง การวัดท ี่ส ามารถนำผลท ี่ได้ไปเป็นพื้นฐ านในการพยากรณ์ห รือทำนายพ ฤติกรรมหรือลักษณะอื่นๆ
ที่ไม่ได้ว ัดในข ณะนั้นห รือในอนาคต
4.2.2 เครื่องมือแนะแนวท่ีมีความเท่ียง เป็นเครื่องมือแนะแนวที่สามารถวัดได้คงที่ แน่นอน
หรือให้ผลการวัด หรือก ารทดสอบใกล้เคียงก ัน ไม่ว ่าจ ะวัดกี่ค รั้งก็ตาม ทำให้ได้ข้อมูลที่ม ีความน ่าเชื่อถือ
4.2.3 เครอ่ื งม อื แ นะแนวท มี่ คี วามเปน็ ม าตรฐาน เป็นเครือ่ งม อื แ นะแนวท มี่ คี ณุ ภาพเชื่อถ อื ได้
แล้วก ็น ำเครื่องม ือแ นะแนวด ังก ล่าวไปพ ัฒนาให้เป็นม าตรฐานท ั้งม าตรฐานก ารด ำเนินก ารส อบ วิธีก ารด ำเนิน
การส อบ วธิ กี ารใหค้ ะแนน วธิ กี ารแ ปลผ ลค ะแนน โดยแ ปลผ ลจ ากก ารเปรยี บเทยี บก บั เกณฑป์ กตหิ รอื ป กตวิ สิ ยั
5. การนำเคร่อื งมอื แนะแนวไปใช้
เครื่องม ือแนะแนวท ี่พ ัฒนาขึ้น สามารถนำไปใช้ในงานแนะแนวด้านก ารศึกษา ด้านอ าชีพ ด้านส่วน
ตัวและส ังคม สำหรับผู้รับบ ริการทั้งเด็ก วัยร ุ่นและผ ู้ใหญ่ เพื่อเก็บรวบรวมข ้อมูลในเรื่องต ่างๆ ดังกล่าวทั้ง
ในด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และเพื่อนำข้อมูลที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในงานแนะแนวให้มี
ประโยชน์และมีคุณค่าแก่ผู้รับบริการ ตลอดทั้งอาจจะนำข้อมูลที่ได้รับจากการใช้เครื่องมือแนะแนว โดย
เฉพาะอ ย่างยิ่ง เครื่องม ือแนะแนวป ระเภทแบบทดสอบ แบบส ำรวจ แบบสอบถาม แบบว ัด และแบบส ังเกต
มาใช้ประโยชน์ในการคัดเลือก จำแนก วินิจฉัย และพยากรณ์ ลักษณะปัญหาหรือเรื่องราวต่างๆ ของผู้รับ
บริการ เพื่อให้การแนะแนวห รือการป รึกษา ตลอดทั้งวางแผนท ี่จะป ้องกันปัญหา แก้ป ัญหา และพ ัฒนาผู้รับ
บริการทั้งเด็ก วัยรุ่น และผ ู้ใหญ่ต ่อไป
อยา่ งไรก ต็ าม นกั แ นะแนวท มี่ คี วามร ทู้ างการแ นะแนวแ ละก ารใหก้ ารป รกึ ษาในร ะดบั ป รญิ ญาต รหี รอื
ระดับปริญญาโทนั้น อาจจะประสบปัญหาหรืออุปสรรคในการสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือวัดพฤติกรรมด้าน
ความรู้-ความคิด หรือการรู้คิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครื่องมือวัดความสามารถทางสมอง เช่น เครื่องมือวัด
ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช