Page 41 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 41
แนวคดิ ในการพฒั นาเคร่ืองมือแนะแนว 1-39
เชาวน์ปัญญา ความถนัดทางวิชาการ ความถนัดเฉพาะทาง ความจำ ความคิดสร้างสรรค์ ทั้งนี้อาจจะเป็น
เพราะว ่า การสร้างแบบทดสอบท างจิตวิทยา มีล ำดับข ั้นตอนในการส ร้างหลายข ั้นตอน ต้องใช้เวลาเพื่อการ
ตรวจส อบเพือ่ ใหไ้ ดแ้ บบท ดสอบท มี่ คี วามเทีย่ ง ความต รง และเชือ่ ถ อื ได้ ดงั น ัน้ นกั แ นะแนวจ งึ ม ใิ ชผ่ ูร้ บั ผ ดิ ช อบ
หลักในการสร้างแบบทดสอบ (Test) โดยเฉพาะแบบทดสอบที่วัดด้านการรู้คิดและแบบทดสอบที่วัดความ
สามารถต ่างๆ ทางสมอง แต่นักแนะแนวจำเป็นต้องศ ึกษาร ายล ะเอียดเกี่ยวก ับความเป็นมาข องแบบทดสอบ
เหล่าน ั้น ขั้นต อนในก ารส ร้างแ บบท ดสอบ การก ำหนดข อบเขตข องก ารว ัดว ่า แบบท ดสอบแ ต่ละช นิดน ั้นใชว้ ัด
ความสามารถอะไร มีจุดมุ่งห มายอย่างไร มีการจำแนกเนื้อหาท ี่วัดในเรื่องใดบ้าง มีก ารกำหนดป ระเภทข อง
แบบท ดสอบว ่าเป็นแ บบใด เช่น เป็นแ บบป รนัย แบบต อบค ำถ ามส ั้นๆ แบบใหอ้ ธิบายข ้อความ ซึ่งเป็นล ักษณะ
หนึ่งของแบบสอบถามปลายเปิด หรือการท ดสอบแบบป ระกอบการ (Performance Testing) นอกจากน ี้จ ะ
ต้องศึกษาด้วยว่า แบบทดสอบชนิดนั้นๆ มีการดำเนินการทดสอบอย่างไร ทดสอบเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล
ทดสอบกับบุคคลวัยใด มีลำดับขั้นตอนในการดำเนินการทดสอบกับบุคคลแต่ละวัยอย่างไร มีการกำหนด
เวลาในการตอบแบบทดสอบอย่างไร มีเกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การแปลผลการทดสอบอย่างไร
ผลก ารท ดสอบท ีไ่ดเ้ป็นค ะแนนด ิบ (Raw Scores) สามารถป รับใหเ้ป็นค ะแนนม าตรฐาน (Standard Scores)
ได้อย่างไร แบบทดสอบนั้นมีปกติวิสัยหรือเกณฑ์ปกติ (Norm) เพื่อการเปรียบเทียบและการคำนวณค่า
ตำแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ (Percentile Rank) หรือค่าค ะแนนมาตรฐาน เช่น คะแนนมาตรฐาน T-Score หรือไม่
ตลอดท ั้งส ามารถต ีความ ผลก ารท ดส อบ นั้นๆ อย่างไร และจ ะน ำผ ลก ารท ดส อบ นั้นๆ ไปใชป้ ระโยชนใ์นก ารให้
ความช่วยเหลือผ ู้รับบ ริการ หรือผ ู้รับก ารท ดสอบได้อ ย่างไร ดังนั้น นักแนะแนวจ ำเป็นจ ะต ้องม ีป ระสบการณ์
ในก ารใช้แ บบท ดสอบชนิดนั้นๆ
ส่วนก ารสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือว ัดความรู้สึก และวัดพฤติกรรมน ั้น นักแนะแนวค วรจะพยายาม
สร้างหรือพัฒนาเครื่องมือต่างๆ ตามหลักการและแนวทางการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวดังได้กล่าวแล้ว
ข้างต้น เพื่อจักได้ม ีป ระสบการณ์ในการสร้างห รือพัฒนา และการใช้เครื่องมือแ นะแนวเหล่าน ั้น
สรุปได้ว่า แนวทางการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวที่สำคัญๆ ประกอบด้วย การกำหนดจุดมุ่งหมาย
ของการพัฒนาเครื่องมือแนะแนว การกำหนดขอบข่ายของเครื่องมือแนะแนวที่ต้องการพัฒนาทั้งด้าน
การศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม สำหรับเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่ การดำเนินการสร้างเครื่องมือ
แนะแนว การหาคุณภาพของเครื่องมือแนะแนว และการนำเครื่องมือแนะแนวที่พัฒนาขึ้นไปใช้ในงาน
แนะแนว
หลังจากศ กึ ษาเนอื้ หาส าระเรอื่ งท่ี 1.2.2 แลว้ โปรดปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 1.2.2
ในแ นวก ารศึกษาหน่วยท ี่ 1 ตอนท ่ี 1.2 เร่ืองท ่ี 1.2.2
ลขิ สิทธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช