Page 45 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 45

แนวคดิ ในการพฒั นาเคร่อื งมอื แนะแนว 1-43

            1.2.4 	ลกั ษณะข​ องก​ ารนำไ​ปใ​ชป​้ ระโยชนเ​์ พอื่ ก​ ารแ​ นะแนว ผลข​ องก​ ารนำแ​ บบสอบถามย​ ทุ ธวธิ ​ี
การ​เรียน​และ​การ​ศึกษา​ไป​ใช้ จะ​เป็น​ประโยชน์​ใน​การ​พัฒนา​งาน​แนะแนว​ด้าน​การ​ศึกษา จะ​เป็น​ข้อมูล​เพื่อ​
ให้​นักเรียน​วัย​รุ่น​นำ​ไป​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​ปรับปรุง​ยุทธวิธี​การ​เรียน​และ​การ​ศึกษา​ของ​ตนเอง และ​จะ​เป็น​
ข้อมูล​สำหรับ​ผู้​สอน​ใน​การ​ปรับปรุง​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​แก่​นักเรียน​วัย​รุ่น ตลอด​ทั้ง​จะ​เป็น​ข้อมูล
​พื้น​ฐาน​ทั้ง​ใน​การ​แนะแนว และ​การ​กำหนด​รูป​แบบ​การ​ให้การ​แนะแนว​ด้าน​การ​ศึกษา​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​รูป​แบบ​
การจ​ ัด​กระบวนการ​เรียน​รู้ โดย​มุ่งเ​น้น​การ​เรียนร​ ู้ท​ ี่ผ​ ู้​เรียน​เป็น​ศูนย์กลาง

       1.3 	แนวทางก​ ารพ​ ฒั นาเ​ครอ่ื งม​ อื แ​ นะแนว   สำหรบั ต​ วั อยา่ งเ​กีย่ วก​ บั แ​ นวทางก​ ารพ​ ฒั นาแ​ บบสอบถาม​
ยุทธวิธี​การเ​รียน​และก​ าร​ศึกษาข​ อง​นักเรียน​วัย​รุ่น มี​ดังนี้

            1.3.1 	การก​ ำหนดจ​ ดุ ม​ งุ่ ห​ มายข​ องก​ ารพ​ ฒั นาแ​ บบสอบถามย​ ทุ ธวธิ ก​ี ารเ​รยี นแ​ ละก​ ารศ​ กึ ษาข​ อง​
นกั เรยี นว​ ยั ร​ นุ่   โดยม​ จ​ี ดุ ม​ ุง่ ห​ มายเ​พือ่ พ​ ฒั นาเ​ครือ่ งม​ อื แ​ นะแนวด​ า้ นก​ ารศ​ กึ ษา เพือ่ น​ ำม​ าใ​ชว​้ ดั ย​ ทุ ธวธิ ก​ี ารเ​รยี น​
และ​การศ​ ึกษา​ของน​ ักเรียน​วัยร​ ุ่น

            1.3.2 	กำหนด​ขอบข่าย​ของ​เครื่อง​มือ​แนะแนว​ด้าน​การ​ศึกษา​ที่​ต้องการ​พัฒนา ใน​การ​กำหนด​
ขอบขา่ ยข​ องแ​ บบสอบถามย​ ทุ ธวธิ ก​ี ารเ​รยี นแ​ ละก​ ารศ​ กึ ษาข​ องน​ กั เรยี นว​ ยั ร​ ุน่ น​ ัน้ จำเปน็ ต​ อ้ งน​ ำ แนวคดิ ทฤษฎี
มาสน​ ับส​ นุน​เพื่อ​พัฒนา​แบบสอบถาม​ดังก​ ล่าว ดัง​สาร​ ะส​ ำคัญๆ ดังนี้

                 1) 	ระบุแ​ นวคดิ เ​กยี่ วก​ บั ก​ าร​ให​้ความ​หมาย​ของย​ ทุ ธวิธี​การ​เรียน​และก​ าร​ศกึ ษา
                 2) 	ศกึ ษาร​ ปู แ​ บบพ​ น้ื ฐ​ านข​ องก​ ารเ​รยี นร​ ู้ (Basic Models of Learning) ซึง่ ร​ ปู แ​ บบพ​ ืน้ ฐาน​
ของ​การ​เรียน​รู้​แต่ละ​รูป​แบบ จะ​แสดง​ให้​เห็น​ถึง​ยุทธวิธี​การ​เรียน​และ​การ​ศึกษา​ที่​แตก​ต่าง​กัน และ​จะ​
ส่งผ​ ลต​ ่อ​ยุทธวิธี​การเ​รียน​มาก​น้อยแ​ ตก​ต่าง​กัน โดยแ​ ต่ละร​ ูป​แบบต​ ่างป​ ระกอบ​ด้วยอ​ งค์​ประกอบ 4 ประการ
คือ การสอน (Instruction) กระบวนการ​เรียน​รู้ (Learning Processess) ผล​ของ​การ​เรียน​รู้ (Learning
Outcomes) และ​การ​แสดงออก​หรือ​การก​ระ​ทำ (Performance) หรือ​พฤติกรรม (Behavior) และ​แต่ละ
ร​ ปู แ​ บบข​ องก​ ารเ​รยี นร​ ตู​้ า่ งม​ เ​ี ปา้ ห​ มายแ​ ตกต​ า่ งก​ นั ซึง่ จ​ ะเ​ปน็ ป​ ระโยชนใ​์ นก​ ารก​ ำหนดข​ อบขา่ ยข​ องแ​ บบสอบถาม​
ยุทธวิธี​การ​เรียนแ​ ละก​ าร​ศึกษา (Mayer and Cook, 1980: 101-109)
                 3) 	ศึกษา​องค์​ประกอบ​ใน​การ​เรียน​รู้ (Components in Learning) ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย
การ​สอน กระบวนการ​เรียน​รู้ ผล​ของ​การ​เรียน​รู้ และ​การ​แสดงออก​หรือ​การก​ระ​ทำ​ที่​มี​ความ​เกี่ยวข้อง​หรือ​
สัมพันธ์ก​ ับ​ยุทธวิธีก​ ารเ​รียน​และ​การศ​ ึกษา (Mayer, 1988: 14-22)
                 4) 	ศึกษาแ​ นวคิดเ​กีย่ วก​ ับย​ ทุ ธวิธก​ี าร​เรียน (Learning Strategies Approach) เช่น ระบบ​
ยุทธวิธี​การ​เรยี น (Learning Strategies System) ซ่งึ ​ประกอบด​ ว้ ย ยทุ ธวธิ ​ปี ฐม​ภมู ิ (Primary Strategies)
และ​ยุทธวิธี​สนับสนุน (Support Strategies) ซึ่ง​แต่ละ​ยุทธวิธี​ต่าง​ส่ง​ผล​ต่อ​พฤติกรรม​การ​เรียน ดัง​
รายล​ ะเอียด​ต่อ​ไป​นี้ (Dansereau, 1988: 209)

                     (1) 	ยุทธวิธีป​ ฐมภ​ ูมิ ประกอบด​ ้วย ความ​เข้าใจ (Comprehension) และ​ความ​จำ
(Retention) ตลอดท​ ั้งก​ ารนำค​ วามร​ ูท้​ ี่อ​ ยู่ใ​นร​ ูปข​ องค​ วามจ​ ำร​ ะยะย​ าวก​ ลับม​ าใ​ช้อ​ ีกค​ รั้งห​ นึ่ง (Retrieval) และ​
ใช้ใ​ห้เ​ป็นป​ ระโยชน์ (Utilization)

                           ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50