Page 50 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 50
1-48 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
2.3 ตัวอย่างแ บบวัดค วามภ าคภ มู ใิ จในต นเองข องนกั เรยี นท ่ีมอี ายุระหวา่ ง 7-9 ปี
คำชี้แจง เนื่องจากผู้รับก ารท ดสอบเป็นนักเรียนท ี่มีอายุระหว่าง 7-9 ปี และน ักแนะแนวต้องการวัด
ความภาคภ ูมิใจในตนเองของนักเรียน แบบว ัดน ี้จึงก ำหนดเป็นรูปภาพประกอบการสนทนา โดยกำหนดเป็น
สถานการณ์ โดยน กั แ นะแนวท ดี่ ำเนนิ ก ารท ดสอบจ ะต อ้ งด ำเนนิ ก ารท ดสอบท ลี ะข อ้ และท ดสอบเปน็ ร ายบ คุ คล
โดยให้น ักเรียนด ูรูปภาพ แล้วแ สดงความคิดเห็นตามค วามรู้สึกที่เป็นจริงของนักเรียนให้มากท ี่สุด
ตัวอย่าง การแสดงความรู้สึกและความต้องการของตนเอง โดยแสดงออกทางวาจาที่บ่งบอกถึง
อารมณ์ ความร ู้สึกของนักเรียน
สถานการณ์โดยมีภาพประกอบ คำตอบของนักเรียน
ถา้ คณุ ครูชมวา่ หนูวาดรปู สวย 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
แตเ่ พือ่ นๆ บอกว่า ไม่สวยเลย
หนรู ูส้ ึกอย่างไร - ไม่เปน็ ไร ไม่ได้เป็น - รสู้ ึกวา่ ตวั เองวาด - โกรธ แลว้ พูดว่าเพ่อื น
อย่างท่เี พ่ือนว่า ไม่เกง่ หรอื วา่ ของเพ่ือนกไ็ มส่ วย
- รู้สกึ เสียใจทวี่ าด หรือ
ไม่เก่ง หรือ - พูดวา่ ไมช่ อบเพือ่ น
- เสียใจท่ีเพื่อนไมช่ อบ ทมี่ าว่า หรอื
- พดู ว่า ไม่มใี ครวาดได้
สวยเลย
3. ในก รณีท ีม่ ีเครื่องม ือแนะแนวทเี่หมาะส ม
ควรมุ่งเน้นการนำเครื่องมือแนะแนวนั้นไปประยุกต์ใช้ในงานแนะแนว ในการพิจารณาเลือกใช้
เครื่องมือแ นะแนว ไม่ว ่าจ ะเป็นแ บบท ดสอบ แบบสอบถาม แบบส ำรวจ แบบว ัด หรือแ บบส ังเกต นักแ นะแนว
จะต ้องเลือกใช้เครื่องม ือแ นะแนวให้ต รงต ามค วามต ้องการ ให้ส อดคล้องก ับจ ุดม ุ่งห มายข องก ารใช้เครื่องม ือ
แนะแ นวน ั้นๆ และเงื่อนไขห รือค วามจ ำกัดในก ารบ ริหารแ ละจ ัดการเกี่ยวก ับก ารใชเ้ครื่องม ือแ นะแนวห รือก าร
ทดสอบ นั้นๆ เช่น ประสบการณ์ในก ารใช้แ บบทดสอบหรือเครื่องมือแนะแนว นักแ นะแนวมีค วามเข้าใจแ ละ
มีความช ัดเจนในสิ่งที่ต้องการวัดโดยใช้เครื่องมือแ นะแนวนั้นๆ มากน้อยเพียงใด มีเวลา สถานท ี่ที่เหมาะสม
ตลอดท ั้งมีงบประมาณพ อเพียงห รือไม่
นอกจากนี้ แม้ว่านักแนะแนวจะมีเครื่องมือแนะแนวที่เหมาะสมที่จะนำไปใช้ นักแนะแนวจำเป็น
จะต้องพิจารณาความเหมาะสมของเครื่องมือแนะแนวนั้นๆ โดยคำนึงถึง หลักการและแนวทางการพัฒนา
เครื่องม ือแนะแนวก่อนจ ะนำเครื่องม ือแ นะแ นวนั้นๆ ไปประยุกต์ใช้ในงานแ นะแนว
กล่าวโดยสรุป การนำความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวไปประยุกต์ใช้ในงานแนะแนว
จะช่วยให้นักแนะแนวทราบว่า หากไม่มีเครื่องมือแนะแนว นักแนะแนวควรจะดำเนินการสร้างหรือพัฒนา
ตามหลักการและแนวทางการพัฒนาเครื่องมือแนะแนวที่ได้ระบุไว้ในตอนที่ 1.2 ส่วนในกรณีที่มีเครื่องมือ
แนะแนวแล้ว แต่ยังไม่เหมาะสม นักแนะแนวก็จะต้องพิจารณาว่า ควรจะปรับปรุงหรือแก้ไขในเรื่องใดบ้าง
ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช