Page 39 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 39
แนวคดิ ในการพฒั นาเคร่ืองมอื แนะแนว 1-37
ของผู้เชี่ยวชาญ เมื่อข้อสอบทุกข้อผ่านการพิจารณาแล้ว จึงนำมาจัดพิมพ์เป็นแบบทดสอบ หรือเครื่องมือ
แนะแนวช นิดน ั้นๆ
8) นำเครื่องม ือท ี่ส ร้างข ึ้นท ี่ได้จ ากข ้อ 7) ไปท ดลองใช้ โดยน ำไปท ดลองก ับบ ุคคลท ี่ม ีล ักษณะต ่างๆ
เช่น อายุ เพศ ระดบั ก ารศ ึกษาใกลเ้ คยี งก ับป ระชากรห รอื ก ลุ่มต ัวอยา่ ง แลว้ น ำม าว ิเคราะหห์ าค ่าอ ำนาจจ ำแนก
รายข้อและค ่าค วามยากง่าย แล้วคัดเลือกข ้อท ี่มีค ่าตรงต ามเกณฑ์ที่กำหนด
9) นำข ้อท ี่มีค ่าต รงตามเกณฑ์ที่ก ำหนดที่ได้จ ากข ้อ 8) ไปหาค ่าความเที่ยง (Reliability)
10) นำแ บบสอบถามห รอื เครือ่ งม อื ท สี่ รา้ งข ึน้ ไปใชว้ ดั ป ระชากรห รอื ก ลุม่ ต วั อยา่ งท เี่ ปน็ กล ุม่ เปา้ ห มาย
11) นำคะแนนที่ได้จากข้อ 10) มาวิเคราะห์ค่าสถิติต่างๆ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือ
จุดมุ่งหมายในการสร้างเครื่องมือแนะแนวนั้นๆ ตลอดทั้งอาจสร้างปกติวิสัยหรือเกณฑ์ปกติ (Norm) ของ
เครื่องม ือแ นะแนวช นิดน ั้นๆ
12) จัดพิมพ์แบบทดสอบหรือเครื่องมือแนะแนวที่สร้างขึ้นเป็นรูปเล่ม และจัดทำคู่มือการใช้
แบบท ดสอบห รือเครื่องม ือแนะแนวด้านน ั้นๆ
4. การตรวจส อบค ณุ ภาพเครื่องมอื แนะแนว
ในการพัฒนาเครื่องมือแนะแนว เพื่อนำมาใช้วัดลักษณะต่างๆ ของผู้รับบริการ นอกจากนัก
แนะแนวจ ะต ้องม ีค วามร ู้ในส ิ่งท ี่จ ะว ัดห รือเนื้อหาส าระข องส ิ่งท ี่จ ะว ัดแ ละล ักษณะข องเครื่องม ือแ นะแนวแ ล้ว
นักแ นะแนวจ ะต ้องมีความรู้พ ื้นฐานเกี่ยวกับการส ร้างเครื่องม ือแนะแนวท ี่สำคัญ โดยเฉพาะอ ย่างยิ่งค วามรู้
เรื่องการตรวจสอบหรือการหาคุณภาพของเครื่องมือแนะแนว ซึ่งประกอบด้วย ความรู้เรื่องการวิเคราะห์
รายข้อ และก ารวิเคราะห์คุณภาพข องเครื่องม ือแนะแนว ดังร ายล ะเอียดต่อไปนี้
4.1 การวเิ คราะหร์ ายข อ้ เป็นการพิจารณาเฉพาะข ้อความ/ข้อคำถามเป็นข ้อๆ ว่า มีก ารต อบอ ย่างไร
สามารถจัดกระทำได้ในระยะของการสร้างเครื่องมือ และขั้นของการสร้างหรือการพัฒนาเครื่องมือตัวนี้
(อุทุมพร จามรม าน 2532: 18-22)
4.1.1 การว เิ คราะหร์ ายข อ้ ในร ะยะก ารส รา้ งเครอื่ งม อื คอื การพ จิ ารณาค วามส อดคลอ้ งร ะหวา่ ง
ข้อความ ข้อคำถามท ี่ส ร้างข ึ้นกับจุดมุ่งห มายในก ารส ร้างและเนื้อหาสาระที่สร้างขึ้น
4.1.2 การวิเคราะห์รายข้อในระยะของการพัฒนาเคร่ืองมือ เป็นการวิเคราะห์รายข้อโดยใช้
ข้อมูลจากการทดลองใช้ หรือใช้จริง มาหาค่าต่างๆ เพื่อระบุลักษณะของข้อความ ข้อคำถามนั้นๆ โดย
พิจารณา
1) จำนวนผ ู้ต อบข้อความน ั้น
2) ความส อดคล้องระหว่างข้อ
3) ข้อที่บ อกความแตกต่างร ะหว่างก ลุ่ม
4) ข้อท ี่ส ัมพันธ์ก ับเกณฑ์ภ ายนอก
5) ข้อที่ส ัมพันธ์ก ับค ะแนนรวม
ลิขสิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช