Page 124 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 124
3-60 องค์การแ ละการจัดการ และการจัดการทรัพยากรม นุษย์
วิธีค ่าป ัจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV) การค ำนวณต ามว ิธีนี้จะใช้สูตรด ังนี้
NPV = ผลรวมข องค่าปัจจุบันข องผ ลตอบแทนโครงการ – เงินล งทุนเริ่มแ รก
หรือ NPV = n Ct —I
(1 + i)t
t S= 1
โดยที่ Ct = กระแสเงินสดร ับส ุทธิต่อปี
I = เงินสดล งทุนเริ่มแ รก
i = อัตราผลต อบแทนท ี่ต้องการจ ากการลงทุน
n = อายุโครงการ
t = 1, 2, 3, ...n
จากการคำนวณตามสูตรถ ้าพ บว ่าค่า NPV เป็นบ วกก็แสดงว่าโครงการนี้ลงทุนได้
1
ค่า (1 + i)t เรียกว่า PV Factor ซึ่งสามารถหาได้จากการเปิดตาราง Present Value ในหนังสือวิชาการ
เงินห รือการบัญชีทั่วไป
วิธีอัตราผลตอบแทนจากการล งทุน (Internal Rate of Return: IRR) วิธี IRR นี้เป็นว ิธีท ี่ใช้หาอ ัตราส่วน
ลด (r) ค่าห นึ่งค่าใดที่ท ำให้ผลรวมของค ่าปัจจุบัน (Present Value: PV) ของผลตอบแทนในอนาคตข องโครงการมี
ค่าเท่ากับเงินสดลงทุนเริ่มต้น หรือเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้
n Ct — I
(1 + i)t
t S= 1
เมื่อหาค่า r (สมมติให้เป็น r = 18%) ซึ่งจะทำให้ทั้งสองค่าในสูตรนี้เท่ากันก็แสดงว่าโครงการนี้มีอัตราผล
ตอบแทนเท่ากับ 18%
สำหรับเทคนิคที่ใช้ในก ารว างแผนระดับป ฏิบัติก าร ในที่นี้จะน ำเสนอเพียงเทคนิคก ารว างแผนจ ัดต ารางเพื่อ
ให้เห็นภ าพพอเป็นส ังเขป
เทคนิคก ารว างแผนจ ัดต าราง (Scheduling) เพื่อให้เห็นภ าพแ ละเข้าใจเทคนิคก ารว างแผนจ ัดต ารางท ี่ม ีค วาม
ชัดเจนจึงม ุ่งเน้นการอธิบายไปในเรื่องข องการวางแผนจัดตารางก ารผลิต ซึ่งการวางแผนจัดตารางม ีค วามส ำคัญอย่าง
มากในก ระบวนการผ ลิต คือ ช่วยเพิ่มป ระสิทธิภาพก ารผ ลิตใหด้ ีย ิ่งข ึ้น เทคนิคก ารว างแผนจ ัดต ารางก ารผ ลิตป ระกอบ
ไปด ้วย การจ ัดงานให้แก่หน่วยง านผ ลิต และการจ ัดล ำดับการท ำงาน
การจ ัดงานให้แ ก่ห น่วยงานผลิตห รือเครื่องจักร (Loading) เพื่อให้การผ ลิตมีประสิทธิภาพ มีค ุณภาพ และ
ตรงตามเวลาที่ก ำหนด ควรจัดง านให้เหมาะกับห น้าที่หรือภ าระง านของหน่วยงานผ ลิตหรือให้เหมาะส มก ับเครื่องจักร
สิ่งที่อาจน ำมาช่วยในก ารว างแผนก ารจัดง านนี้คือ แผนภ ูมิแกนต ์ (Gantt Chart) ซึ่งเป็นแผนภูมิอ ย่างง ่ายท ี่แสดงให้
เห็นภ าระง านข องแ ต่ละห น่วยง านผ ลิตห รือเครื่องจักรแ ต่ละเครื่อง ทำให้ผ ู้บริหารส ามารถท ราบถ ึงภ าระง านข องแ ต่ละ
หน่วยงานหรือเครื่องจักรในแต่ละช่วงเวลาได้ ตัวอย่างแผนภูมิแกนต์ที่แสดงหน่วยการผลิตของบริษัทรถยนต์ใน
ช่วง 12 วันข องเดือนมกราคม ดังแ ผนภาพท ี่ 3.19
ลิขสิทธิข์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช