Page 120 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 120
3-56 องค์การและการจ ัดการ และการจ ัดการท รัพยากรมนุษย์
ส่วนแบ่งข องตลาดเปรียบเทียบก ับคู่แ ข่งขัน
สูง ต่ำ
20% “Star” ? “Question Marks”
สูง เฉพาะส ่วนท ี่เลือกใช้
อัตราการเจริญเติบโตของต ลาด 10%
ต่ำ ส่วนที่เหลือ
ยุบเลิก
$ “Cash Cows” “Dogs”
4 2 1.0 0.5 0.25
ภาพที่ 3.18 เทคนคิ ก ารป ระเมินกลยุทธข์ อง BCG Matrix
จากภาพที่ 3.18 จะสามารถจำแนกผลิตภัณฑ์หรือหน่วยธุรกิจได้เป็น 4 ลักษณะเพื่อนำมากำหนดกลยุทธ์
ต่อไปน ี้คือ
ดาว (Stars) เป็นส่วนที่อ ยู่ในก รอบส ี่เหลี่ยมทางตอนบนซ้ายข องภาพที่ 3.18 มีสัญลักษณ์เป็นร ูปดาว หน่วย
ธุรกิจห รือผ ลิตภัณฑ์ ทีอ่ ยู่ในส ่วนน ี้จ ะม ีอ ัตราก ารเจริญเติบโตส ูงแ ละม ีส ่วนแ บ่งท างการต ลาดอ ยู่ในร ะดับส ูง มีอ นาคต
ดีและม ีโอกาสนำร ายได้เข้าส ู่อ งค์การได้ม าก ผลิตภัณฑ์หรือหน่วยง านท ี่จ ัดอยู่ในลักษณะนี้จะเป็นค วามหวังในการท ำ
กำไรให้ก ับอ งค์การในร ะยะย าว ดังน ั้นจ ึงได้ร ับก ารพ ิจารณาว ่าเป็นเสมือนก ับด าวห รือค วามห วังข องอ งค์การแ ละจ ะได้
รับค วามสนใจก ่อนในแ ง่ข องก ารจัดสรรท รัพยากรท ี่มีจำกัดขององค์การ
วัวเงิน (Cash Cows) เป็นส่วนท ี่อ ยู่ในกรอบส ี่เหลี่ยมทางต อนล ่างซ ้ายข องภ าพท ี่ 3.18 ที่มีการเรียกชื่อว ่าเป็น
วัวเงินเนื่องจากส ามารถร ีดเงินเหมือนร ีดน มจ ากว วั เพื่อม าใชเ้ ลี้ยงด หู น่วยง านห รือห น่วยธ รุ กจิ อ ื่นๆ ได้ หรอื ในบ างทอี าจ
ใช้สัญลักษณ์เงินดอลลาร์ส หรัฐ ($) หน่วยง านหรือผ ลิตภัณฑ์ท ี่จัดอยู่ในส่วนนี้มีส่วนแ บ่งข องตลาดส ูง แต่การเจริญ
เตบิ โตอ ยใู่ นอ ตั ราช า้ แ ละต ำ่ ล งค อื อ ยใู่ นข ัน้ เตบิ โตเตม็ ท ขี่ องว งจรช วี ติ ผ ลติ ภณั ฑธ์ รุ กจิ ห รอื ต ลาดม คี วามอ ิม่ ต วั แ ลว้ ทำให้
หน่วยธ ุรกิจหรือผลิตภัณฑ์ท ี่อยู่ในช่วงนี้ไม่ต้องการลงทุนเพิ่ม จึงเป็นห น่วยธุรกิจท ี่น ำรายได้ห รือเงินสดมาสู่องค์การ
มากกว่าที่ใช้ท รัพยากรข ององค์การไป องค์การจ ึงอาจนำท รัพยากรท างการเงินจ ากส่วนน ี้ไปใช้ในส่วนอ ื่นๆ เช่น ไปใช้
ในส ่วนข องก ารสนับสนุนหน่วยธุรกิจห รือผ ลิตภัณฑ์ที่อยู่ในดาวและเครื่องหมายคำถาม (Question Marks)
สุนัข (Dogs) เป็นส่วนที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมทางตอนล่างขวาของภาพที่ 3.18 ที่ได้รับการเรียกชื่อว่าสุนัข
เนื่องจากหน่วยธุรกิจหรือผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในช่วงนี้ไม่สามารถเลี้ยงตนเองได้ หน่วยธุรกิจหรือผลิตภัณฑ์ที่จัดอยู่ใน
ส่วนน ี้อ ยู่ในข ั้นก ารเจริญเติบโตท ี่ต กต่ำ ขยายต ัวได้น ้อย หรือไม่มีโอกาสเติบโตได้อ ีก ส่วนแ บ่งข องต ลาดม ีน ้อย เพราะ
มีคู่แ ข่งขันมาก นอกเหนือจากนี้อ ัตราการเจริญเติบโตข องตลาดย ังอยู่ในอัตราที่ต่ำ ผลิตภัณฑ์ห รือหน่วยงานที่อยู่ใน
ส่วนนี้จึงทำกำไรและเงินสดได้เพียงเล็กน้อย ในการจัดการส่วนนี้จะอยู่ในลักษณะที่เป็นความพยายามระยะสั้นที่จะ
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช