Page 118 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 118
3-54 องค์การและก ารจ ัดการ แ ละการจัดการท รัพยากรมนุษย์
เรื่องท ี่ 3.4.1
เทคนคิ ก ารวางแผนก ลยทุ ธ์
กลยทุ ธใ์ นร ะดบั ท ัง้ อ งคก์ ารม กั จ ะเปน็ ก ลยทุ ธท์ ใี่ ชก้ บั บ รษิ ทั ข นาดใหญ่ (Conglomerate หรอื Corporate) ซึง่ มี
หลายห นว่ ยง าน หรอื ผ ลติ ภณั ฑค์ รอบคลมุ ต ลาดในห ลายพ ืน้ ทแี่ ละก ระจายอ ยใู่ นส ว่ นต ลาดห ลายก ลุม่ (Multiproduct/
Multimarket) แตกต่างจากกลยุทธ์ในระดับหน่วยงานซึ่งจะใช้กับบริษัท (Company) ที่มีสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ตัว
เดียวในต ลาดท ี่ไม่ก ระจายห รือแตกต่างก ันม าก (Single Product / Single Market) การพ ิจารณาก ลยุทธ์ในระดับ
ทั้งองค์การนั้นโดยทั่วไปจะม ีก ารพิจารณาในเรื่องต่อไปน ี้
1. กลยุทธ์ห ลัก (Grand Strategies)
2. กลยุทธ์การเจริญเติบโต (Corporate Growth Strategies)
3. กลยุทธ์ก ารวางต ำแหน่งข องห น่วยธุรกิจในพอร์ต (Corporate Portfolio Strategies)
กลยทุ ธห์ ลัก (Grand Strategies)
กลยุทธพ์ ื้นฐ านซ ึ่งผ ูบ้ ริหารข องบ ริษัทท ีม่ ลี ักษณะเป็น Corporate จะต ้องก ำหนดก ค็ ือ การก ำหนดว างก ลยุทธ์
หลักข องบ ริษัทในร ะดับท ั้งอ งค์การว ่าห น่วยธ ุรกิจใดค วรจ ะม ีก ารพ ิจารณาว างต ำแหน่งก ันอ ย่างไร โดยก ารพ ิจารณาใน
หัวข้อท ี่จะก ล่าวต่อไปนี้
การเจริญเติบโต (Growth Strategy) เป็นก ลยุทธ์ท ีอ่ งค์การก ำหนดข ึ้นเพื่อเพิ่มก ารเจริญเติบโตใหแ้ กอ่ งค์การ
เนื่องจากห ลังจ ากท ีไ่ดป้ ระเมินส ภาวะแ วดล้อมแ ล้วเชื่อว ่าอ งค์การม สี ถานะท ีไ่ดเ้ปรียบแ ละม สี ภาวะแ วดล้อมท ีเ่กื้อห นุน
สามารถบรรลุเป้าห มายที่ส ูงข ึ้น เช่น เพิ่มย อดขาย เพิ่มส่วนแบ่งท างการต ลาด หรือก ารขยายพื้นที่ก ารขายเพิ่มขึ้นจ าก
เดิม เป็นต้น ก็อ าจใช้ก ลยุทธ์ในการขยายตัวซึ่งในร ายละเอียดจะได้กล่าวต ่อไป
การร ักษาเสถียรภาพ (Stability Strategy) องค์การท ี่กำหนดก ลยุทธ์ก ารร ักษาเสถียรภาพน ี้แสดงว ่าอ งค์การ
พยายามท ี่จ ะร ักษา หรือค งขนาดอ งค์การห รือก ารเจริญเติบโตให้เป็นไปอ ย่างช ้าๆ โดยอ าจเสนอผ ลิตภัณฑ์เดิม เจาะ
ตลาดก ลุ่มเดิม ปฏิบัติง านเช่นเดิมหรืออ าจม ีก ารเปลี่ยนแปลงบ ้างเล็กน้อย การท ี่อ งค์การดำเนินก ลยุทธ์ค งตัวน ี้ไม่ได้
แสดงถึงความเฉื่อยชาขององค์การ แต่ในบางครั้งสิ่งที่กำหนดนั้นนำมาซึ่งผลสำเร็จที่น่าพอใจ และการเปลี่ยนแปลง
ก็อาจเป็นการเพิ่มความเสี่ยงม ากเกินไป ซึ่งท ำให้องค์การเห็นว่าค วรห ยุดอยู่กับที่และร ักษาส ถานภาพข ององค์การให้
คงที่ไว้ในช่วงเวลาหนึ่งจ ะดีก ว่า และร อด ูคู่แ ข่งขันว ่าจะไปในท ิศทาง
การถอนตัว (Retrenchment Strategy) เป็นกลยุทธ์ที่องค์การใช้เพื่อพยายามตัดทอนหรือลดขนาดหรือ
ขอบเขตก ารดำเนินง านลง โดยอ าจเป็นผ ลมาจากส ถานการณ์ด ้านก ารเงินท ี่ไม่ม ั่นคง มีการแข่งขันที่รุนแรงมาก มีก าร
เปลี่ยนแ ปล งอ ื่นๆ ที่ไม่อ าจว ิเคราะห์ส ถานการณ์แ ละค วามเสี่ยงท ี่เพิ่มม ากข ึ้นได้ จึงเห็นว ่าการล ดข นาดเป็นท างเลือกท ี่
ดีที่สุดในขณะน ั้นเพื่อลดก ารสูญเสีย กลยุทธ์การตัดท อนมีหลายแ บบ คือการฟื้นฟูการเลิกลงทุนและการเลิกก ิจการ
กลยุทธ์ผ สมผสาน (Combination) บางอ งค์การอาจด ำเนินการภ ายใต้ก ลยุทธ์ท ั้ง 3 แบบข้างต้นไปพร้อมก ัน
โดยใชก้ ลยุทธท์ ีแ่ ตกต ่างก ันไปต ามห น่วยธ ุรกิจห รือส ายผ ลิตภัณฑท์ ีแ่ ตกต ่างก ัน ตัวอย่าง บริษัทผ ลิตน ้ำมันเครื่องย นต์
เพนซอย (Pennzoil) มีธ ุรกิจหลายธุรกิจ โดยใช้กลยุทธ์หลักแบบผสมผสาน กล่าวค ือ มีทั้งก ลยุทธ์ต้องการเพิ่มข นาด
ในบางธุรกิจและการลดขนาดหรือขายธุรกิจท ี่ก ำลังย่ำแย่ในธุรกิจอื่นๆ
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช