Page 115 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 115
การวางแผน 3-51
มีความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ดีกว่าผู้บริหารหรือพนักงานระดับรองลงมา อย่างไรก็ดีในกรณีที่ข้อมูลจาก
ภายในองค์การเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากต่อการวางแผนแล้ว วิธีการวางแผนแบบระดับสูงลงต่ำก็จะไม่สามารถนำมา
ใช้ได้ ทั้งนี้เพราะผู้บ ริหารและพนักงานระดับต่างๆ จะรู้และมีข้อมูลที่ด ีก ว่า ดังน ั้นการว างแผนก็อาจท ี่จ ะต้องเริ่มจาก
ระดับต ่ำไปหาสูง วิธีก ารวางแผนเช่นน ี้เรียกว ่า การว างแผนแ บบล่างข ึ้นบน (bottom-up planning) ซึ่งจะมีพ นักงาน
เข้าร ่วมในก ารว างแผนเป็นจำนวนมาก
ปัญหาใหญ่อ ันห นึ่งท ี่พ บเกี่ยวก ับก ารให้พ นักงานร ะดับต ่างๆ เข้าม าม ีส ่วนร ่วมในก ารว างแผนไม่ว ่าจ ะเป็นการ
วางแผนลักษณะจากสูงลงต่ำหรือต่ำขึ้นสูง ที่จะต้องคำนึงถึงก็คือ แผนที่ได้อาจเป็นแผนที่แตกต่างไปจากที่ผู้บริหาร
ต้องการ ทั้งนี้ก็เพราะค วามแ ตกต ่างของบ ุคคล ซึ่งม ักจ ะน ำค วามต้องการ ความล ำเอียง และก ารเห็นค ุณค่าในสิ่งต่างๆ
ที่แตกต่างกันออกไปของแต่ละคนเข้ามาเกี่ยวข้องในการกำหนดแผนหรือวัตถุประสงค์ของตนเสมอ ทำให้แผนที่ถูก
กำหนดข ึน้ ผ ดิ ไปจ ากท ผี่ บู้ รหิ ารค าดว า่ ค วรจ ะเปน็ ม าก อยา่ งไรก ด็ บี างค รัง้ แ ผนทถี่ กู ก ำหนดข ึน้ โดยว ธิ นี อี้ าจจ ะเปน็ แ ผนที่
ดีและม ีโอกาสที่จะทำให้ส ำเร็จได้โดยที่พ นักงานต่างๆ ยอมรับถือปฏิบัติต ามโดยเคร่งครัด ในเรื่องนี้มีนักว ิชาการท ี่ให้
ข้อคิดเกี่ยวก ับก ารพ ิจารณาว ่าแ ผนจ ะด ีห รือไม่ด ี คือ แผนที่จ ะด ีห รือไม่ด ีจ ากก ารให้พ นักงานม ีส ่วนร ่วมในก ารก ำหนด
นั้น จะขึ้นอยู่กับว่าเป็นแผนที่อยู่ในกรอบห รือแนวทางท ี่องค์การต ้องการหรือไม่ ซึ่งถ้าเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับ
แผนหลักขององค์การก็คือว่าเป็นแผนที่สามารถนำมาใช้ถือปฏิบัติได้ ข้อคิดอีกประการหนึ่งก็คือ การที่จะแสวงหา
ความร่วมม ือจากพนักงานร ะดับต่างๆ โดยใช้ว ิธีข องก ารให้พ นักงานเข้ามามีส่วนร่วมในการว างแผนน ั้นไม่ใช่เป็นวิธีท ี่
ดีเสมอไป เพราะอ าจจ ะกลายเป็นว่าแ ผนที่ถูกก ำหนดข ึ้นผิดวัตถุประสงค์ข ององค์การไปก ็ได้
ในกรณีท ี่ผู้บริหารเห็นความจำเป็นในการให้พนักงานร ะดับต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมก็อาจจะเลือกใช้วิธีการที่
เหมาะสมเกี่ยวกับการมอบหมายอำนาจหน้าที่ด้านการวางแผนจากแกน ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจหน้าที่
ด้านก ารวางแผนร ะหว่างผ ู้บ ังคับบัญชาและผู้ใต้บ ังคับบ ัญชาได้ดังภาพที่ 3.17
หน้าที่แ สดงอ ำนาจห น้าที่ด้าน หน้าที่แสดงอ ำนาจห น้าที่
การวางแผนข องผู้บังคับบ ัญชา ด้านการว างแผนของ
ผู้ใต้บังคับบัญชา
ผู้บ ังคับบ ัญชา ผู้บังคับบ ัญชา ผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บ ังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา
ทำการว างแผน กำหนดป ัญหา กำหนดปัญหา กำหนดปัญหา กำหนดปัญหา กำหนดปัญหา
เองและผ ู้ใต้บ ังคับ และค วามต ้องการ และค วามต้องการ และค วาม และความต ้องการ และค วามต้องการ
บัญชาร ับแ ผนไป ของก ารวางแผน ของก ารวางแผน ต้องการข องการ ของก ารว างแผน ของก ารว างแผนแ ละ
ปฏิบัติ ผู้ใต้บังคับบ ัญชา และส ั่งก ารให้ วางแผนผ ู้ใต้ และการด ำเนินการ ดำเนินการต ามขั้นตอน
เป็นผู้จ ัดหาร วบรวม ผู้ใต้บ ังคับบ ัญชา บังคับบัญชา ตามขั้นตอนของ การว างแผนต ่างๆ
และว ิเคราะห์ข้อมูล เป็นผู้ไปจัดทำ รับไปจัดท ำแผน การว างแผนด ้วย ด้วยตนเองพร้อมกับ
เพื่อเสนอให้ตัดสิน แผนโดยผู้บังคับ ตามขั้นตอนข อง ตัวเองโดยไม่ต้องขอ เป็นผู้มีอำนาจในก าร
ใจและผ ู้บังคับบ ัญชา บัญชาคงไว้ซึ่ง การว างแผนโดย อนุมัติ แต่ผู้บังคับ อนุมัติแผนในขั้น
เป็นผู้ให้ค วามเห็น อำนาจอนุมัติ ความเห็นชอบ บัญชามีอำนาจใน สุดท้าย
ชอบในแ ผนข ั้น ในแ ผนในขั้น ของผู้บังคับบัญชา การอ นุมัติแผนใน
สุดท้าย สุดท้าย และผ ู้บังคับบัญชา ขั้นสุดท้าย
เป็นผู้อนุมัติแ ผน
ขั้นสุดท้าย
ภาพท ี่ 3.17 ขอบเขตก ารมสี ่วนร่วมของผ ู้บังคับบ ญั ชาและผใู้ต้บงั คับบัญชาในขอบเขตต่างๆ
ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช