Page 110 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 110
3-46 องค์การแ ละการจัดการ แ ละการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ต่างๆ และกิจกรรมร ะดับต ่างๆ ทั่วท ั้งอ งค์การ เช่น แผนเกี่ยวกับการนำผ ลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาดซึ่งจ ะเกี่ยวข้องไป
ถึงห น้าที่ท างด ้านก ารผ ลิต การเงิน การต ลาด และห น้าท ี่อ ื่นๆ ในอ งค์การ ส่วนแ ผนที่ม ีล ักษณะข องค วามค รอบคลุมไม่
กว้างข วางน ัก เช่น แผนเกี่ยวก ับก ารจ ัดเก็บส ินค้าค งคลัง เป็นแผนที่จะใช้อ ยู่ในห น่วยงานใดห น่วยง านห นึ่งในอ งค์การ
และจ ะเกี่ยวข้องกับบุคคลเพียงเฉพาะที่ร ับผิดชอบในหน้าที่นี้อยู่เท่านั้น
6. ความค ุ้มค่าใช้จ ่าย (Cost effectiveness) แผนที่ได้จัดท ำขึ้นควรม ีค่าใช้จ่าย ที่ต่ำกว่าผ ลประโยชน์ที่จะได้
รับจ ากแผนนั้น กล่าวคือในการจัดทำแ ผนใดๆ ควรที่จ ะมีค ่าใช้จ ่ายในการจ ัดทำแ ผน และมีค่าใช้จ่ายในการนำแ ผนไป
ปฏิบัตทิ ีป่ ระหยัดท ี่สุด โดยก ารใชป้ ระโยชน์จ ากท รัพยากรข องอ งค์การท ีม่ อี ยูอ่ ย่างไดป้ ระสิทธิภาพ และโดยทีค่ ่าใชจ้ ่าย
ของทั้งก ารจ ัดทำแผนแ ละการนำแผนไปปฏิบัติน ั้นม ีค่าน้อยกว่าผลท ี่จะได้รับจ ากก ารป ฏิบัติตามแ ผนน ั้น
7. ความชัดเจน (Specificity) แผนที่ได้จัดทำขึ้นควรเป็นแผนที่กำหนดไว้อย่างชัดเจนว่าฝ่ายใดจะต้อง
ร ับผิดชอบ ทำอ ะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร ด้วยง บป ระมาณเท่าใด และใครเป็นผู้รับผิดชอบจัดทำตามแ ผน ยิ่งกว่านั้น
การกำหนดแผนควรจะได้กำหนดให้ชัดเจนและเฉพาะเจาะจงในรายละเอียด เพื่อประโยชน์ในการนำไปปฏิบัติ เช่น
กำหนดว่า ระยะเวลาข องแ ผนจ ะเริ่มจากว ันท ี่น ั้นถึงวันที่นั้น จะต ้องจ ัดซื้อว ัตถุดิบแ ละส่วนป ระกอบท ี่มีค ุณภาพต ่างๆ
เป็นปริมาณเท่านั้นเท่านี้ และนำมาใช้ในการผลิตวันที่เท่านั้นเท่านี้ และใช้เงินจากการกู้ยืมมาลงทุนเป็นเงินเท่านั้น
เท่าน ี้ เป็นต้น
8. ระยะเวลาของแผน (Time span) แผนที่ได้จัดทำขึ้นควรมีกำหนดระยะเวลาสิ้นสุดของแผนที่แน่นอน
กล่าวคือจะต ้องก ำหนดวันเริ่มต ้น และวันส ิ้นส ุดของแผนไว้อย่างชัดเจน ว่าจ ะต้องท ำก ิจกรรม อะไรในวันเริ่มต้น และ
ทำกิจกรรมอ ะไรบ ้างในว ันถัดๆ ไปจ นถึงว ันส ิ้นส ุดของแ ผน
9. ความเป็นพ ิธีการ (Formality) แผนที่ได้จัดทำข ึ้นควรเป็นไปอย่างเป็นพ ิธีการ กล่าวค ือ มีการจ ัดทำแ ผน
โดยผ ่านขั้นตอนต ่างๆ เช่น การทำการศึกษา วิเคราะห์ การจัดเตรียมแผน การนำแผนไปปฏิบัติและการทำการควบคุม
ให้เป็นไปต ามแ ผน โดยก ารด ำเนินก ารต ่างๆ เหล่าน ี้เป็นไปอ ย่างเป็นพ ิธีการ ซึ่งจ ะได้ร ับก ารอ นุมัตใิห้ด ำเนินก ารโดยผ ู้ม ี
อำนาจห รือผ ูบ้ ริหารร ะดับส ูงในอ งค์การ อีกป ระการห นึ่ง แผนทีก่ ำหนดข ึ้นม ักจ ะอ ยูใ่นร ูปแ บบข องเอกสารท ีเ่ป็นพ ิธีการ
ซึ่งใช้ก ันอยู่ในอ งค์การ เพื่อให้ส ามารถเป็นที่เข้าใจแ ละปฏิบัติได้โดยผู้รับผิดชอบดำเนินก ารต ามแ ผนนั้น
10. ความปกปิด (Confidentiality) แผนที่ได้จัดทำขึ้นควรเป็นที่เปิดเผยให้ทราบเฉพาะผู้ที่รับผิดชอบใน
การปฏิบัติให้เป็นไปตามแผน และผ ู้ท ี่ได้ร ับอนุญาตเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อป ้องกันการแ พร่กระจายเนื้อหาไปให้กับคู่แข่งขัน
ทราบ อันอาจจ ะเป็นผลเสียต ่อองค์การในแง่ของการแข่งขันได้ เหตุผลอื่นๆ ที่ส นับสนุนก ารป กปิดแ ผน มีอาทิ แผนที่
มีลักษณะเกี่ยวข้องกับตัวบุคคล ซึ่งจะก่อให้เกิดปฏิกิริยาต่างๆ ขึ้นเมื่อเป็นที่เปิดเผยให้ทราบก่อน เช่น แผนการใช้
เครื่องจักรกลแทนที่แรงงาน เป็นต้น และแผนที่มีลักษณะซึ่งเมื่อเปิดเผยแล้วไม่เป็นผลดีต่อองค์การและอาจทำให้
องค์การเสียภ าพลักษณ์ได้ เช่น แผนที่ไม่ส อดคล้องก ับศ ีลธรรมและประเพณีน ิยมของส ังคม เป็นต้น
11. ความม เี หตมุ ผี ล (Rationality) แผนทไี่ ดจ้ ดั ท ำข ึน้ ค วรก ำหนดข ึน้ อ ยา่ งม เี หตแุ ละผ ลแ ละเนน้ ไปในแ นวทาง
ทจี่ ะท ำใหส้ ามารถบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ กี่ ำหนดไวไ้ ด้ นัน่ ก ค็ อื ไมก่ ำหนดแ ผนห รอื แ นวทางป ฏบิ ตั นิ อกเหนอื ค วามส ามารถ
ขององค์การที่จะทำได้ หรือกำหนดขึ้นโดยไม่ได้วิเคราะห์ศึกษาถึงผลหรือเป้าหมายที่ผิดแผกแตกต่างไปจากภารกิจ
และวัตถุประสงค์ห ลักของอ งค์การ
12. ความสอดคล้อง (Relevance) แผนที่ได้จัดทำข ึ้นควรอ ยู่ในก รอบของภารกิจวัตถุประสงค์ และน โยบาย
ขององค์การที่กำหนดไว้ กล่าวคือ การก ำหนดแผนไม่ควรให้ออกนอกกรอบภ ารกิจวัตถุประสงค์และนโยบายที่ว างไว้
13. การเน้นท ี่อ นาคต (Future oriented) โดยท ั่วไปแ ล้วก ารว างแผนเป็นเรื่องท ี่เกี่ยวก ับอ นาคต การว างแผน
งบป ระมาณ ถือเป็นก ิจกรรมก ารว างแผนป ระจำป ี เพราะแ ผนง บป ระมาณก ำหนดก ิจกรรมต ่างๆ ทีอ่ งค์การจ ะต ้องท ำให้
สำเร็จภายในระยะเวลา 1 ปี อย่างไรก็ดีการเน้นที่อนาคตในหัวข้อนี้หมายถึงการเน้นในแผนที่มีระยะเวลามากกว่า
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช