Page 111 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 111
การว างแผน 3-47
1 ปีขึ้นไป ซึ่งโดยท ั่วไปแ ล้วจ ะนิยมใช้ร ะยะเวลาของแผน 5 ปี ถือเป็นร ะยะเวลาที่ด ีที่สุดซ ึ่งสมองข องมนุษย์จะมีค วาม
สามารถในการคาดคะเนเหตุการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างของแผนชนิดนี้ เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศไทยท ี่มีร ะยะเวลา 5 ปี เป็นต้น อย่างไรก ็ดีระยะเวลาในอนาคตท ี่เหมาะส มหรือด ีท ี่สุดข องแ ต่ละอ งค์การย่อม
แตกต่างก ันไปต ามแต่ละส ภาวะแวดล้อมข องอ งค์การ สภาวะท ี่แตกต ่างก ันน ี้มี อาทิ วัฏจักรห รือวงจรช ีวิตข องธุรกิจ
หรือระยะเวลาของก ารพัฒนาผลิตภ ัณฑ์ใหม่ๆ ขึ้น เป็นต้น
14. ความต ่อเนื่อง (Continuous process) แผนที่ดีนั้นควรเน้นที่การทำให้เกิดความต่อเนื่องของแผน ความ
ต่อเนื่องในท ี่น ี้ร วมไปถ ึงค วามต ่อเนื่องในก ระบวนการจ ัดการ ซึ่งห ลังจ ากก ำหนดแ ผนได้แ ล้ว จะต ้องม ีก ารจ ัดอ งค์การ
(แบ่งงานก ันท ำ) การจัดคนเข้าท ำงาน การส ั่งก าร และก ารค วบคุม ต่อเนื่องกันไปและวกกลับมาท ี่การว างแผนอ ีกและ
รวมถึงการประเมินแผนและปรับปรุงแก้ไขในทุกๆ ปี ทั้งนี้เพราะแผนที่กำหนดไว้ในระยะ 5 ปี มักจะต้องการปรับ
แต่งหรือแก้ไขแผนให้สอดคล้องกับสภาวการณ์เปลี่ยนแปลงในทุกๆ ปีเสมอ ดังนั้นแผน 5 ปีนี้ จึงมักเป็นแผนที่มี
ความย ืดหยุ่น โดยห ลังจ ากที่ปีแรกผ ่านไปก็จะมีการจ ัดทำแ ผนสำหรับ 5 ปีข้างห น้าก ันใหม่ เป็นไปอ ย่างต่อเนื่องเช่นนี้
เรื่อยไ ป
กิจกรรม 3.3.1
ให้นักศึกษาหาแผนพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ หรือแผนการดำเนินงานของหน่วยราชการหรือองค์การ
รัฐวิสาหกิจ จากหอ้ งสมุดของสถาบันอ ุดมศกึ ษา แลว้ ทำการวิเคราะหว์ า่ มีคณุ ลกั ษณะต ามห ลักการท ี่ควรจะเปน็
หรอื ไม่
แนวต อบก จิ กรรม 3.3.1
ใช้กรอบแนวคดิ ค ุณลกั ษณะและหลกั การของการว างแผนทีด่ ี 14 ประการ
เรอื่ งท่ี 3.3.2
หน้าทค่ี วามรบั ผ ดิ ชอบข องก ารว างแผน
โดยหลักการแล้วหน้าที่ด้านการวางแผนจะเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบที่นักบริหารหรือนักการจัดการทุกคน
จะต ้องป ฏิบัติ อย่างไรก ด็ หี ากจ ะพ ิจารณาถ ึงป ริมาณข องง านด ้านก ารว างแผนน ีจ้ ะแ ตกต ่างก ันไปต ามแ ต่ละส ถานการณ์
กล่าวคือ ในอ งค์การที่มีล ักษณะของก ิจการข นาดเล็กห รืออ งค์การท ี่เอกชนเป็นเจ้าของก ิจการเราจะพบว ่านักบริหารท ี่
เป็นผู้บริหารสูงสุดห รือเป็นเจ้าของจะท ำหน้าที่ด้านการว างแผนท ั้งหมดค นเดียว เมื่อองค์การเจริญเติบโตแ ละมีข นาด
ใหญ่ขึ้นก็จะพบว่ามีการเข้ามามีส่วนร่วมของบุคคลต่างๆ ในองค์การเพื่อช่วยในการกำหนดวัตถุประสงค์ของตนเอง
หรือให้ข้อมูลกับผู้บริหารระดับสูงเพื่อใช้ในการวางแผนเพิ่มขึ้น และเมื่อองค์การเจริญเติบโตขึ้นกว่าเดิมอีกจะมีการ
ใช้ที่ปรึกษา (staff) เข้ามาช่วยในการก ำหนดท างเลือกเพื่อก ารปฏิบัติและในก ารวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในก ารว างแผน
เป็นต้น และเมื่อองค์การเจริญเติบโตเต็มที่ห รือในห ลายๆ กรณี ซึ่งกำลังเป็นที่น ิยมกันอยู่ในปัจจุบันก ็ได้มีการจ ัดตั้ง
ลิขสิทธขิ์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช