Page 113 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 113

การ​วางแผน 3-49

                            เป็นห​ น้าที่ข​ อง

กำหนดว​ ิสัย​ทัศน์ ภารกิจ	                                                 สภาผ​ ู้แ​ ทนร​ าษฎร
นโยบายแ​ ละ​วัตถุประสงค์	                                                  คณะ​กรรมการอ​ ำนวย​การ
ของ​องค์การ	                                                               สภาบ​ ริหารข​ องมหาวิทยาลัย

กำหนด​แผน​ระยะย​ าว​และ		 ผู้บ​ ริหารร​ ะดับส​ ูง
แผน​กลยุทธ์

กำหนด​แผนป​ ฏิบัติ​การข​ องฝ​ ่าย			                                       ผู้บ​ ริหารร​ ะดับก​ ลาง
ต่างๆ สำหรับด​ ำเนิน​การ​ของ

องค์การ​ตาม​วัตถุประสงค์

กำหนดแ​ ผน​ปฏิบัติง​ านใ​น​แต่ละ				 ผู้​บริหารร​ ะดับต​ ่ำ
หน่วยง​ านย​ ่อย

                            ภาพ​ท่ี 3.16 บทบาท​หนา้ ท่​ีของผ​ ​ู้บริหารใ​นร​ ะดบั ต​ ่างๆ

ที่มา: ดัดแปลง​จาก Stephen P. Robbins, The Administrative Process. 1996.

       อย่างไร​ก็​ดี​ใน​องค์การ​ขนาด​ใหญ่​ที่​มี​การ​แบ่ง​งาน​ออก​เป็น​หลาย​ฝ่าย​หลาย​หน้าที่ และ​มี​การก​ระ​จาย​ความ​
รับ​ผิด​ชอบ​ด้าน​การ​วางแผน​อยู่​กับ​ระดับ​ต่างๆ แล้ว มัก​จะ​มี​ปัญหา​เกี่ยว​กับ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ใน​การ​วางแผน​ระหว่าง​
หน่วย​งาน​หลัก​และ​หน่วย​งาน​ที่​ปรึกษา​เสมอ โดย​เฉพาะ​ใน​องค์การ​ที่​มี​การ​จัด​ตั้ง​ที่​ปรึกษา​ฝ่าย​วางแผน​ด้วย​แล้ว​ยิ่ง​
ทำให้​ปัญหา​นี้​สับสน​มาก​ขึ้น ซึ่ง​โดย​หลัก​การ​แล้ว​หน้าที่​ทาง​ด้าน​การ​วางแผน​เป็น​หน้าที่​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​ผู้​บริหาร​
หน่วย​งาน​หลัก (line manager) ผู้​บริหาร​หน่วย​งาน​หลัก​จะ​เป็น​ผู้​ที่​รับ​ผิด​ชอบ​โดยตรง​ต่อ​การ​ออกแบบ การ​พัฒนา
การผ​ ลิต และท​ าง​ด้าน​การต​ ลาดข​ อง​สินค้าแ​ ละ​บริการข​ อง​องค์การ เช่น ในอ​ งค์การอ​ ุตสาหกรรม ผู้บ​ ริหารหน่วยง​ าน​
หลักก​ ็​จะเ​ป็น​ผู้​บริหาร​ใน​หน่วย​งานท​ ี่เ​กี่ยว​กับท​ างด​ ้าน​วิศวกรรม การ​ผลิต และ​การข​ าย ซึ่ง​จะ​รับ​ผิด​ชอบโ​ดยตรง​ตั้งแต่​
การผ​ ลิตจ​ นถึงก​ ารข​ ายห​ รือจ​ ัดจ​ ำหน่ายไ​ปย​ ังผ​ ูบ้​ ริโภค จะเ​ห็นไ​ดว้​ ่าการร​ ับผ​ ิดช​ อบเ​ช่นน​ ีจ้​ ำเป็นท​ ีผ่​ ูบ้​ ริหารห​ น่วยง​ านห​ ลัก​
จะ​ต้อง​รับ​ผิด​ชอบ​ของท​ ี่​ปรึกษาไ​ม่ไ​ด้ ดัง​นั้น จึง​เห็น​ได้ว​ ่า​หน้าที่ข​ อง​ที่​ปรึกษาน​ ั้น​จะ​จำกัดอ​ ยู่​ใน​ลักษณะท​ ี่จ​ ะเ​ข้า​มาช​ ่วย​
ใน​การ​จัดหา​ข้อมูล​การ​กำหนด​วัตถุประสงค์​และ​แผน​กลยุทธ์ การ​กำหนด​ทาง​เลือก การ​ทำการ​ประเมิน​แผน และ​การ​
ช่วยใ​นก​ ารท​ ำการศ​ ึกษาว​ ิเคราะห์ว​ ิจัยใ​นด​ ้านท​ ี่เ​ป็นท​ ี่ส​ นใจข​ องห​ น่วยง​ านห​ ลักม​ ากกว่า ซึ่งก​ ารก​ ำหนดห​ น้าที่ข​ องท​ ั้งส​ อง​
ให้​ชัดเจนใ​น​ลักษณะด​ ังก​ ล่าว​ก็จ​ ะ​ทำให้ป​ ัญหาห​ มด​ไป

       สำหรับ​ปัญหา​ด้าน​การ​วางแผน​ระหว่าง​หน่วย​งาน​หลัก​และ​หน่วย​งาน​ที่​ปรึกษา​ที่​ไม่​เกี่ยว​กับ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ
มัก​จะเ​กิด​ขึ้น​ใน​แง่​ของ​เทคนิค เช่นใ​นก​ รณีป​ ัญหา​ของ​การใ​ช้ห​ น่วย​งานว​ างแผนใ​นอ​ งค์การท​ ี่ม​ ัก​ประสบก​ ันก​ ็​คือ แผนที่​
หน่วย​งาน​วางแผน​กำหนด​ขึ้น​มัก​จะ​เป็น​ปัญหา​ใน​การ​ที่​ผู้​จัดการ​ฝ่าย​หรือ​แผนก​ต่างๆ ที่​รับ​ผิด​ชอบ​ใน​งาน​หลัก​ของ​
องค์การ​ไม่​สามารถ​ที่​จะ​ปฏิบัติ​ตาม​ได้ อัน​เนื่องจาก​เหตุผล​ว่า​หน่วย​งาน​วางแผน​ใช้​เทคนิค​ที่​สลับ​ซับ​ซ้อน​และ​เข้าใจ​

                            ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118