Page 133 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 133
การจัดองค์การ 4-5
เร่อื งที่ 4.1.1
ความหมายแ ละความสำคัญข องการจ ดั องค์การ
องค์การ (Organization) เป็นที่รวมของกลุ่มบุคคลซึ่งปฏิบัติงานร่วมกันโดยมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์
ที่ต้องการบรรลุร่วมกัน องค์การเป็นไปได้ทั้งองค์การที่เป็นทางการและองค์การที่ไม่เป็นทางการ โดยองค์การที่เป็น
ทางการ (formal organization) จะมีการกำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบการปฏิบัติงาน การแบ่งงานตามตำแหน่งหน้าที่
และค วามร ับผ ิดช อบ การก ำหนดค วามส ัมพันธ์ร ะหว่างง าน การก ำหนดช ่องท างการส ื่อสาร การก ำหนดส ายง าน หน่วย
งานบ งั คบั บ ญั ชา ตลอดจ นก ารก ำหนดร ะดบั ช ัน้ ห รอื ส ายก ารบ งั คบั บ ญั ชาส ำหรบั ป ฏบิ ตั งิ านแ ตล่ ะส ว่ นง านไวอ้ ยา่ งช ดั เจน
ผู้ท ี่อ ยู่ในห น่วยเหนือห รืออ ยู่ในต ำแหน่งส ูงก ว่าจ ึงม ีอ ำนาจอ ย่างเป็นท างการในก ารบ ังคับบ ัญชาผ ู้ท ี่อ ยู่ในต ำแหน่งท ี่ต ่ำ
กว่า การปฏิบัติง านตลอดจนความสัมพันธ์ท ี่เกิดขึ้นในการป ฏิบัติงานจ ึงเป็นค วามสัมพันธ์ที่เป็นท างการต ามต ำแหน่ง
และอ ำนาจหน้าที่แ ละก ฎเกณฑ์ท ี่ได้กำหนดไว้ โดยปราศจากค วามสัมพันธ์ส ่วนตัวในก ารทำงาน
ในข ณะท ี่อ งค์การที่ไม่เป็นทางการ (informal organization) ความส ัมพันธ์ระหว่างผ ู้ปฏิบัติง านจ ะเป็นไป
ตามความต้องการข องสมาชิกในองค์การ ซึ่งจะมีการติดต่อสัมพันธ์แ ละรวมกลุ่มกันโดยอาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัว
ความสัมพันธ์ระหว่างกันที่เกิดขึ้นจึงเกิดจากปัจจัยทางสังคมที่บุคคลต้องการติดต่อสัมพันธ์ตามความต้องการของ
ตนอย่างอิสระมากกว่าเป็นความสัมพันธ์แบบทางการตามสายงาน องค์การแบบไม่เป็นทางการจึงเป็นเสมือนเงาของ
องค์การท ี่เป็นท างการ กล่าวค ือ ในอ งค์การท ุกแ ห่งย ่อมม ีค วามเป็นท างการต ามก ฎร ะเบียบ สายง าน อำนาจห น้าที่แ ละ
ความรับผิดชอบซึ่งองค์การได้กำหนดไว้ แต่เมื่อบุคคลปฏิบัติงานร่วมกันย่อมจะเกิดความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทางการ
หรือค วามสัมพันธ์ส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็น ความเป็นเพื่อนร ่วมงาน ความส นิทสนมช อบพอ ความส นใจในกิจกรรมบาง
อย่างร ่วมก ัน การม ีค วามเชื่อแ ละท ัศนคติร ่วมก ัน ฯลฯ ซึ่งค วามส ัมพันธ์ส ่วนต ัวด ังก ล่าวไม่ว ่าจ ะเป็นไปในร ูปแ บบห รือ
ลักษณะใดเท่ากับว ่าได้เกิดองค์การท ี่ไม่เป็นท างการซ ้อนขึ้นในองค์การที่เป็นท างการ
การบริหารอ งค์การให้เกิดป ระสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้น ผู้บริหารห รือผ ู้จ ัดการต้องอาศัยห ลักการจ ัดการ
หลากหลายประการ การจัดองค์การ (Organizing) ก็ถือเป็นหลักการที่สำคัญประการหนึ่งของการจัดการ (Man-
agement) ดังจะเห็นได้จากผลงานของนักวิชาการที่มีชื่อเสียงหลายท่านที่ได้อธิบายเกี่ยวกับหลักการจัดการไว้ ดัง
เช่น POSDCoRB ของลเู ธอร์ กูลคิ (Luther Gulick) และล นิ ดอลล์ เออ รว์ คิ (Lyndall Urwick) ซึ่งได้อธิบายบ รรดา
หลักการหรือหน้าที่ของผู้บริหารหรือผู้จัดการไว้ว่าจะต้องประกอบด้วย การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ
(Organizing) การจัดการบุคคล (Staffing) การอำนวยการ (Directing) การประสานงาน (Coordinating) การ
รายงาน (Reporting) และการงบประมาณ (Budgeting) หรือ POCCC ของอองรี ฟาโยล์ (Henri Fayol) ที่
ประกอบด้วยการวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การสั่งการ (Command) การประสานงาน
(Coordination) และการควบคุม (Control) หรือ POSDC ของฮาโรลด์ คูนส์ (Harold Koontz) และไซเรย์
โอดอ ลเนลล์ (Cyrey O’ Donnell) ที่ป ระกอบด ้วยก ารว างแผน (Planning) การจ ัดอ งค์การ (Organizing) การจัดการ
บุคคล (Staffing) การอำนวยก าร (Directing) และการค วบคุม (Controlling) ดังนั้นจ ากต ัวอย่างห ลักก ารจ ัดการข อง
นักว ิชาการข ้างต ้นจ ะเห็นได้ว ่าการจ ัดอ งค์การถ ือเป็นห ลักก ารส ำคัญป ระการห นึ่งข องก ารบ ริหารห รือก ารจ ัดการ ซึ่งใน
บางตำราอาจเรียกหลักการจัดการต่างๆ เหล่านั้นเป็นหน้าที่หรือกระบวนการจัดการ โดยในส่วนของความหมายและ
ความสำคัญของก ารจัดอ งค์การน ั้น มีด ังรายล ะเอียดต่อไปนี้
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช