Page 138 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 138
4-10 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ในก ลุ่มแ รกค ือก ลุ่มว ิเคราะห์ร ะบบง านจ ะป ฏิบัติห น้าที่เกี่ยวก ับก ารว ิเคราะห์แ ละว างร ะบบก ารผ ลิต กระบวนการผลิต
ตลอดจนระบบการไหลของงานให้มีประสิทธิภาพ เช่น วิศวกรเครื่องกล วิศวกรอุตสาหกรรม เป็นต้น ส่วนกลุ่มที่
สองได้แก่ กลุ่มวางแผน ควบคุม และพัฒนานั้นจะรับผิดชอบในงานที่เกี่ยวกับการวางแผน การกำหนดมาตรฐาน
ของงาน การควบคุมคุณภาพ และการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ เช่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิจัย เจ้าหน้าที่
ควบคุมคุณภาพ เป็นต้น สำหรับกลุ่มที่สามซึ่งเป็นกลุ่มวิเคราะห์งานบุคคลนั้นจะรับผิดชอบเกี่ยวกับการวางแผน
ทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การจัดสรรอัตรากำลังคน ตลอดจนกำหนดแนวทางใน
การใช้ท รัพยากรมนุษย์ให้ม ีป ระสิทธิภาพ เช่น เจ้าห น้าที่วิเคราะห์ง านท รัพยากรมนุษย์ วิทยากร นักพัฒนาทรัพยากร
ทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
จากลักษณะงานของส่วนเทคนิคข้างต้นจะเห็นว่าการปฏิบัติงานของส่วนเทคนิคเป็นไปในเชิงของการช่วย
เหลือให้งานอื่นๆ ปฏิบัติได้อย่างเป็นมาตรฐาน ความสำเร็จของการปฏิบัติงานในส่วนเทคนิคจึงขึ้นอยู่การช่วยส่วน
งานอื่นๆ ในการวางแผน แนะนำให้คำปรึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาเพื่อให้งานอื่นๆ ปฏิบัติงานได้อย่างประสบ
ผลสำเร็จต่อไป
3. สว่ นส นบั สนุน
ส่วนสนับสนุน (support staff) เป็นส่วนงานท ี่คอยช ่วยเหลือหรือส นับสนุนการป ฏิบัติง านข องส่วนอ ื่นๆ ซึ่ง
ทั่วไปแล้วงานของส่วนสนับสนุนนี้จะแตกต่างกับงานของส่วนเทคนิค โดยงานในส่วนนี้จะไม่ใช่งานด้านการวางแผน
กำหนดม าตรฐาน วางร ะบบ วเิ คราะหห์ รอื พ ฒั นา ตลอดจ นไมม่ ลี กั ษณะเปน็ ง านเชงิ ว ชิ าการม ากน กั งานท ปี่ ฏบิ ตั สิ ว่ นใหญ่
จึงเป็นง านท ี่เกี่ยวข้องก ับก ารส นับสนุน ช่วยเหลือ หรืออ ำนวยค วามส ะดวกในเรื่องต ่างๆ ให้แ ก่ส ่วนง านอ ื่นในอ งค์การ
งานในส่วนส นับสนุนจ ะแ ตกต่างก ันไปในแ ต่ละองค์การ โดยขึ้นอยู่ก ับวัตถุประสงค์ ประเภท ลักษณะง าน และข นาด
ของอ งคก์ ารเปน็ ส ำคญั อย่างไรก ็ตามโดยท ั่วไปแ ลว้ อ งคก์ ารท มี่ ลี ักษณะง านเปน็ ง านบ ริการ หรือเป็นอ งคก์ ารข นาดใหญ่
ก็ม ักจะมีปริมาณข องงานส นับสนุนมากจ ึงก ำหนดให้ม ีส่วนง านส นับสนุนขึ้นโดยแ ยกต่างหากจ ากส ่วนง านอื่น แต่ห าก
เปน็ อ งคก์ ารข นาดย อ่ มก อ็ าจก ำหนดใหส้ ว่ นง านส นบั สนนุ น เี้ ปน็ ส ว่ นห นึง่ ข องส ว่ นง านอ ืน่ ในอ งคก์ ารก ไ็ ด้ ซึง่ ในก รณนี จี้ ะ
พบเห็นไดม้ ากว่าง านส นับสนุนน ั้นจ ะจ ัดเป็นง านห นึ่งข องส ่วนเทคนิค สำหรับต ัวอย่างง านส นับสนุน เช่น งานเลขานุการ
งานธุรการ งานส ารบรรณ งานประชาสัมพันธ์ งานอ าคารส ถานที่ งานย าพ าหนะ งานรักษาค วามส ะอาด เป็นต้น
4. ส่วนร ะดับกลาง
ส่วนระดับกลาง (middle line) คือส่วนงานที่เชื่อมประสานส่วนปฏิบัติการกับส่วนระดับสูงเข้าด้วยกัน ซึ่ง
โดยท ั่วไปก ารป ฏิบัติง านในส ่วนน ี้จ ะเป็นอ ำนาจห น้าที่ข องผ ู้บ ริหารร ะดับก ลางแ ละร ะดับต ้น โดยเฉพาะผ ู้บ ริหารร ะดับ
กลางซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของผู้ปฏิบัติงานและหัวหน้างานของส่วนปฏิบัติการ (operating core) ดังนั้นจะเห็น
ได้ว่างานหลักของส่วนนี้ก็คือการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของส่วนปฏิบัติการนั่นเอง โดยหน้าที่หลักของผู้บริหาร
ระดับกลางก็คือการแปลงนโยบาย กลยุทธ์ วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์การซึ่งผู้บริหารระดับสูงได้กำหนดไว้
ไปส ู่การปฏิบัติ ผู้บ ริหารระดับกลางจึงเป็นส่วนที่อยู่กึ่งกลางของส ายก ารบ ังคับบัญชาในองค์การ ซึ่งงานในส่วนนี้จะม ี
มากหรือน้อยน ั้นย ่อมขึ้นอ ยู่ก ับล ักษณะข องอ งค์การท ี่แตกต ่างก ัน กล่าวค ือ ในองค์การแบบส ูง (tall organization)
ซึ่งมีสายการบังคับบัญชาที่ยาวหรือมีลำดับชั้นของการบังคับบัญชาจำนวนมาก ส่วนระดับกลางหรือผู้บริหารระดับ
กลางก็มีมากตามไปด้วย ในขณะที่องค์การแบบราบ (flat organization) มีสายการบังคับบัญชาสั้นหรือมีลำดับชั้น
ของก ารบ งั คบั บ ญั ชาน อ้ ย งานแ ละจ ำนวนข องผ บู้ รหิ ารร ะดบั ก ลางก ม็ นี อ้ ยต ามไปด ว้ ย สำหรบั ต วั อยา่ งง านในส ว่ นน ี้ เชน่
ผู้จัดการฝ่ายผลิต ผู้จ ัดการฝ่ายก ารตลาด เป็นต้น
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช