Page 141 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 141
การจัดองค์การ 4-13
ในข ณะท แี่ นวคดิ ก ารจ ดั อ งคก์ ารจ ดั อ งคก์ ารส มยั ใหมจ่ ะใหค้ วามส ำคญั ก บั ก ารจ ดั โครงสรา้ งอ งคก์ ารท แี่ บบราบ
(flat organization) ที่มีความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนไดง้ ่ายต ามส ถานการณ์ แนวคิดน ีเ้ชื่อว ่าไม่มโีครงสร้างอ งค์การแ บบ
ใดจ ะเป็นแ บบที่ดีท ี่สุด โครงสร้างอ งค์การท ี่ด ีจ ึงต ้องสามารถปรับเปลี่ยนได้ง่ายต ามกลยุทธ์ ภารกิจ สถานการณ์หรือ
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ในการจัดองค์การสมัยใหม่จึงได้รับอิทธิพลจากตัวแบบองค์การระบบเปิด (open
model organization) ซึ่งต ัวแ บบองค์การร ะบบเปิดมีค ุณลักษณะที่สำคัญ คือ
(1) มีล ักษณะเป็นองค์การแ บบส ิ่งมีช ีวิต หรือองค์การแบบไม่เป็นทางการ
(2) งานที่ปฏิบัติไม่ใช่งานป ระจำ โดยง านจะแ ปรเปลี่ยนไปต ามเงื่อนไขและสภาพแวดล้อม
(3) เน้นเป้าห มายของงานม ากกว่าวิธีก ารปฏิบัติง าน
(4) ความข ัดแย้งท ี่เกิดข ึ้นในอ งค์การจะจัดการโดยกลุ่มหรือทีมม ากกว่าผู้บริหาร
(5) ผู้ปฏิบัติงานจ ะมีค วามรับผ ิดช อบและจ งรักภักดีต่อองค์การ
(6) โครงสร้างม ีล ักษณะเป็นเครือข่ายหรือแ บบตัวอ มีบาที่ปรับเปลี่ยนต ัวเองได้
(7) ความรู้อยู่ท ุกหนแห่งในอ งค์การไม่จ ำกัดเฉพาะต ัวผู้บริหาร
(8) การป ฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในอ งค์การจ ะเป็นแ บบแ นวนอนมากกว่าแ นวด ิ่ง
(9) ความสัมพันธ์ร ะหว่างห ัวหน้ากับลูกน ้องจะเป็นแ บบท ี่ป รึกษาท ี่ค อยแนะนำเรื่องต ่างๆ
(10) สถานภาพข องบ ุคลากรในองค์การก ำหนดจ ากความส ามารถทางว ิชาชีพ
แนวคดิ ก ารจ ดั อ งคก์ ารส มยั ใหมจ่ ะไดร้ บั อ ทิ ธพิ ลจ ากต วั แ บบอ งคก์ ารร ะบบเปดิ องคก์ ารจ งึ ม ลี กั ษณะเหมอื นส ิง่
มชี วี ติ (organic) การจ ดั โครงสรา้ งอ งคก์ ารจ ะเนน้ โครงสรา้ งแ บบช ัว่ คราวท มี่ ชี วี ติ ช วี า โดยม กี ารเคลือ่ นไหวเปลีย่ นแปลง
อย่างต ่อเนื่อง โครงสร้างอ งค์การที่เกิดขึ้นตามแนวคิดน ี้จึงม ีลักษณะเป็นโครงสร้างที่ย ืดหยุ่นสูง สามารถป รับต ัวและ
เปลี่ยนแปลงได้ง ่ายตามสถานการณ์ กลยุทธ์ ภารกิจ หรือสภาพแ วดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นโครงสร้างองค์การ
จะไม่ป รากฏส ่วนง านแ ละส ายก ารบ ังคับบ ัญชาท ี่ม ากแ ละช ัดเจนเหมือนแ นวคิดก ารจ ัดอ งค์การแ บบด ั้งเดิม โครงสร้าง
องค์การต ามแ นวคิดการจัดองค์การส มัยใหม่นี้จึงเสมือนสิ่งมีชีวิตที่มีการป รับตัวตลอดเวลา เป็นองค์การท ี่ไร้รูปแบบ
หรอื ข อบเขตท ชี่ ดั เจน และเชือ่ ว า่ ไมม่ รี ปู แ บบโครงสรา้ งใดท สี่ ามารถใชไ้ ดใ้ นท กุ อ งคก์ ารห รอื ท กุ ส ถานการณ์ และจ ากก าร
ที่แ นวคิดท ี่เชื่อในค วามย ืดหยุ่นแ ละป รับต ัวได้ข องโครงสร้างอ งค์การเป็นอ ย่างม ากน ีไ้ดน้ ำไปส ูข่ ้อส รุปท ีว่ ่า “โครงสร้าง
องค์การที่ด ีท ี่สุดคือก ารปราศจากซ ึ่งโครงสร้างอ งค์การ”
จากแนวคดิ การจดั องคก์ ารสมยั ใหม่จะเหน็ ได้วา่ การจดั องคก์ ารในยคุ ใหม่จะเนน้ การจดั โครงสรา้ งท่ยี ดื หยนุ่ สูง
ปรับต ัวได้ง่าย เป็นโครงสร้างท ี่ม ีช ีวิตช ีวาซ ึ่งผู้ปฏิบัติงานในอ งค์การได้ม ีส ่วนร่วมในก ารก ำหนดโครงสร้างด ังกล่าวข ึ้น
การบริหารและการปฏิบัติงานจึงไม่เน้นความเป็นทางการ แต่จะให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมและความร่วมมือ
ร่วมใจในการปฏิบัติงาน การจัดองค์การสมัยใหม่ซึ่งได้รับอิทธิพลจากแนวคิดองค์การระบบเปิดจึงเป็นแนวคิดที่
สอดคลอ้ งก บั โลกค วามเปน็ จ รงิ ในป จั จบุ นั ท อี่ งคก์ ารต า่ งๆ โดยเฉพาะอ งคก์ ารภ าคธ รุ กจิ ม ลี กั ษณะเปน็ อ งคก์ ารแ บบเปดิ
ที่จ ะต ้องป รับต ัวต ่อก ารแ ข่งขัน ตลอดจ นป รับต ัวให้ส อดคล้องก ับส ภาพแ วดล้อมท ี่เปลี่ยนแปลงไปอ ย่างร วดเร็วต ลอด
เวลา นอกจากน ีแ้ ล้วในก ารจ ัดอ งค์การส มัยใหมย่ ังใหค้ วามส ำคัญก ับก ารท ำงานเป็นท ีม (teamwork) ทั้งท ีมในส ายง าน
เดียวกันและทีมข ้ามสายงาน (cross-functional team) ซึ่งจะแ ตกต ่างจะแ นวคิดการจ ัดอ งค์การแ บบเดิมที่จะเน้น
การแบ่งงานก ันทำตามค วามช ำนาญเฉพาะด ้านเป็นสำคัญ โดยแนวคิดการจ ัดองค์การส มัยใหม่เชื่อว่าการทำงานเป็น
ทมี จ ะช ว่ ยใหผ้ ปู้ ฏบิ ัตงิ านม คี วามผ กู พันในง านแ ละม พี ลงั ในก ารร ว่ มแ รงร ่วมใจก นั ป ฏิบตั งิ านเพื่อม ุ่งผ ลส ัมฤทธมิ์ ากกว่า
การป ฏบิ ตั งิ านท ีแ่ บ่งแ ยกห นา้ ทีแ่ บบต า่ งค นต ่างท ำ โดยส มาชิกในท มี จ ะร ่วมร ับผ ดิ ช อบในผ ลข องง าน และผ ลส ำเรจ็ ข อง
งานที่เกิดขึ้นก็จ ะถ ือว่าเป็นผลส ำเร็จของทีมงานม ิใช่ผลงานของห ัวหน้าทีมห รือของสมาชิกคนใดคนหนึ่ง
ลขิ สิทธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช