Page 140 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 140

4-12 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

เรอื่ ง​ท่ี 4.1.3
แนวคดิ ​การจ​ ัด​องค์การส​ มัย​ใหม่

       	

       แนวคิดก​ ารจ​ ัดอ​ งค์การส​ มัยใ​หม่น​ ั้นม​ ีค​ วามแ​ ตกต​ ่างจ​ ากแ​ นวคิดก​ ารจ​ ัดอ​ งค์การแ​ บบด​ ั้งเดิมอ​ ยู่ห​ ลายป​ ระการ
โดย​แนวคิด​การ​จัด​องค์การ​แบบ​ดั้งเดิม​จะ​ให้​ความ​สำคัญ​กับ​การ​ที่​องค์การ​จะ​ต้อง​มี​โครงสร้าง​หรือ​แผนภูมิ​องค์การ​ที่​
แสดงใ​หเ้​ห็นถ​ ึงส​ ่วนง​ านต​ ่างๆ ความส​ ัมพันธร์​ ะหว่างง​ านต​ ่างๆ และส​ ายก​ ารบ​ ังคับบ​ ัญชาอ​ ย่างช​ ัดเจน ในก​ ารจ​ ัดอ​ งค์การ​
จึงม​ หี​ ลักก​ ารแ​ ละก​ ระบวนการด​ ำเนินง​ านท​ ีค่​ ่อนข​ ้างเ​คร่งครัด โครงสร้างอ​ งค์การจ​ ึงม​ ักม​ ลี​ ักษณะเ​ป็นโ​ครงสร้างอ​ งค์การ​
แบบส​ ูง (tall organization) ที่ม​ ีล​ ำดับ​ขั้นก​ ารบ​ ังคับบ​ ัญชา​มาก ส่ง​ผล​ให้​ภายใน​องค์การป​ ระกอบ​ไป​ด้วยส​ ่วน​งานแ​ ละ​
มีล​ ำดับ​ชั้นข​ องง​ าน​จำนวน​มาก

       การ​จัด​องค์การ​แบบ​ดั้งเดิม​ได้​รับ​อิทธิพล​มา​จาก​ทฤษฎี​องค์การ​ที่​เน้น​ระเบียบ​แบบแผน​หรือ​ทฤษฎี​ระบบ​
ราชการ (Bureaucracy Theory) ของแ​ มกซ์ เวเ​บอร์ (Max Weber) โดยอ​ งคก์ ารแ​ บบร​ าชการใ​นอ​ ดุ มค​ ตข​ิ องเ​วเ​บอรน​์ ัน้ ​
ถือเ​ป็นแ​ นวคดิ ก​ ารจ​ ัดการย​ ุคด​ ั้งเดมิ ห​ รือย​ คุ ค​ ลาสส​ ิกท​ ีใ่​หค้​ วามส​ ำคัญก​ ับก​ ารจ​ ดั แ​ บง่ ง​ านโ​ดยม​ ก​ี ารก​ ำหนดอ​ ำนาจห​ น้าที​่
และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​อย่าง​ชัดเจน การ​จัด​ตำแหน่ง​งาน​ลด​หลั่น​กัน​ตาม​สาย​การ​บังคับ​บัญชา การ​แบ่ง​แยก​การจัดการ​
กับค​ วามเ​ป็นเ​จ้าของแ​ ยกฝ​ ่ายจ​ ัดการแ​ ละฝ​ ่ายป​ ฏิบัติก​ ารอ​ อกจ​ ากก​ ัน โดยเ​น้นก​ ารจ​ ัดการท​ ี่เ​ป็นท​ างการท​ ี่ไ​ม่อ​ าศัยค​ วาม​
สัมพันธ์​ส่วน​ตัว การ​บริหาร​และ​การ​ตัดสิน​ใจ​ที่​มี​การ​จัด​เก็บ​และ​บันทึก​อย่าง​เป็น​ลาย​ลักษณ์​อักษร และ​การ​คัด​เลือก
การ​เลอ่ื นต​ ำแหนง่ บ​ คุ คล​จะอ​ ยเ​ู่ ปน็ ​พน้ื ฐ​ าน​ของ​คณุ สมบตั ​ทิ างด​ า้ น​เทคนคิ ซง่ึ ​ก​ค็ อื ​ความถ​ นดั ​และค​ วาม​ชำนาญเ​ฉพาะด​ ้าน

       นอกจากน​ แ​ี้ ลว้ ก​ ารจ​ ดั อ​ งคก์ ารแ​ บบด​ ง้ั เดมิ ย​ งั อ​ าศยั ต​ วั แ​ บบอ​ งคก์ ารร​ ะบบป​ ดิ (closed model of organization)
มา​เป็นพ​ ื้น​ฐานส​ ำคัญ​ในก​ าร​จัดอ​ งค์การอ​ ีก​ด้วย โดยต​ ัวแ​ บบอ​ งค์การ​ระบบป​ ิด​มี​คุณลักษณะ​ที่​สำคัญ คือ

       (1) มีล​ ักษณะเ​ป็น​องค์การ​แบบ​เครื่องจักร หรือ​องค์การ​แบบท​ างการ
       (2) เน้นก​ าร​ปฏิบัติ​งาน​ประจำ​ภาย​ใต้​เงื่อนไข​หรือ​สภาพ​แวดล้อม​ที่แ​ น่นอน
       (3) เน้นค​ วาม​ชำนาญ​เฉพาะ​ด้าน และจ​ ะ​แบ่งง​ าน​กัน​ทำต​ ามค​ วาม​ชำนาญ​เฉพาะด​ ้าน
       (4) เน้น​วิธีก​ าร​ปฏิบัติง​ านม​ ากกว่า​เป้า​หมายข​ อง​งาน
       (5) เน้น​ความร​ ับผ​ ิดช​ อบ​ตาม​หน้าที่ โดยม​ ุ่ง​รับ​ผิด​ชอบแ​ ละ​จงรักภ​ ักดี​ต่อ​แผนก​งาน
       (6) มีส​ าย​การ​บังคับบ​ ัญชาม​ าก และม​ ีโ​ครงสร้างแ​ บบพ​ ีระมิด
       (7) ความร​ ู้ต​ ่างๆ ถูกร​ วม​อยู่ก​ ับ​ผู้บ​ ริหาร​ระดับ​สูง​ของอ​ งค์การ
       (8) การป​ ฏิสัมพันธ์ร​ ะหว่าง​บุคคล​ในอ​ งค์การจ​ ะเ​ป็น​แบบแ​ นวด​ ิ่ง​มากกว่าแ​ นว​นอน
       (9) การ​ปฏิสัมพันธ์จ​ ะ​เน้นก​ ารส​ ั่งก​ าร และม​ ี​ลักษณะ​ความส​ ัมพันธ์​แบบน​ าย​กับ​บ่าว
       (10) สถานภาพ​ของบ​ ุคคล​ใน​องค์การก​ ำหนดจ​ าก​ตำแหน่งแ​ ละช​ ั้น​ยศ
       การ​จัด​องค์การ​แบบ​ดั้งเดิม​เชื่อ​ว่า​หาก​สามารถ​จัด​โครงสร้าง​องค์การ​แบบ​สูง​ที่​มี​สาย​การ​บังคับ​บัญชา​ลด​หลั่น​
กันลง​ไป มี​การ​จัด​แบ่ง​ส่วน​งาน​และ​แบ่ง​งาน​กัน​ทำ​ตาม​ความ​ชำนาญเ​ฉพาะ​ด้าน​อย่าง​ชัดเจน​จะ​ช่วย​ให้การ​บริหาร​และ​
การ​ดำเนิน​งาน​ใน​องค์การ​มี​ประสิทธิภาพ​และ​เกิด​ประสิทธิผล​สูงสุด เพราะ​ผู้​บริหาร​จะ​สามารถ​อำนวย​การ สั่ง​การ
และ​ควบคุม​ดูแล​การ​ปฏิบัติ​งาน​ได้​อย่าง​ชัดเจน เป็น​ระบบ อำนาจ​การ​ตัดสิน​ใจ​และ​ความ​รู้​ใน​เรื่อง​ต่างๆ ทุก​เรื่อง​ของ​
องค์การจ​ ึง​ต้อง​รวม​อยู่ก​ ับต​ ัวผู้​บริหาร

                             ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145