Page 144 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 144
4-16 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
เรื่องที่ 4.2.1
หลกั การจัดอ งคก์ าร
การจัดองค์การเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงสร้างองค์การที่เหมาะสมนั้นจำเป็นต้องคำนึงถึงหลักการหลายประการ
ตลอดจนต้องนำหลักการต่างๆ เหล่านั้นมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินการจัดองค์การ ซึ่งหลักการจัดองค์การที่สำคัญ
สามารถสรุปได้ 10 ประการ คือ
1. หลกั ค วามส อดคลอ้ งส มั พนั ธก์ บั ว สิ ยั ท ศั น์ ภารกจิ กลยทุ ธแ์ ละว ตั ถปุ ระสงคข์ องอ งคก์ าร การจ ัดโครงสร้าง
องค์การจำเป็นต้องสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ และวัตถุประสงค์ขององค์การเป็นประการแรก เพราะ
องค์การแต่ละแห่งย่อมจะมีวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ในการบริหารและดำเนินงานที่แตกต่างกัน
แต่ละอ งค์การจ ึงย ่อมต ้องการโครงสร้างอ งค์การเพื่อก ารด ำเนินง านต ามว ิสัยท ัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงคแ์ ละก ลยุทธ์ท ี่
แตกต ่างก ันด ้วย เช่น องค์การภ าคเอกชนท ี่เน้นก ลยุทธ์ก ารเป็นผ ู้นำด ้านย อดข ายห รือผ ลก ำไรย ่อมต ้องการโครงสร้าง
องค์การที่ยืดหยุ่นสูง เพื่อการปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพการแข่งขัน ซึ่งแตกต่างไปจากองค์การ
ภาครัฐที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการบริการสาธารณะที่จะมีโครงสร้างที่เป็นทางการหรือโครงสร้างชัดเจนตายตัวมากกว่า
หรืออ งค์การท ี่มีว ิสัยท ัศน์ห รือกลยุทธ์เน้นค วามเป็นม ืออาชีพหรือเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง ก็จ ำเป็นต ้องจัดรูปแบบ
โครงสร้างเพื่อเสริมส ร้างค วามชำนาญเฉพาะด้านให้แ ก่บุคลากร เช่น จัดโครงสร้างอ งค์การแ บบต ามห น้าที่ เป็นต้น
2. หลักสายการบังคับบัญชา การจัดองค์การต้องคำนึงถึงลำดับชั้นของอำนาจหน้าที่และตำแหน่งงานใน
องค์การ โดยกำหนดให้แ ต่ละต ำแหน่งงานม ีอ ำนาจหน้าที่ท ี่ล ดห ลั่นก ัน ตั้งแต่ระดับสูงสุดจนถึงร ะดับต่ำส ุดในอ งค์การ
ซึง่ ต ำแหนง่ ง านท อี่ ยใู่ นล ำดบั ท สี่ งู ก วา่ ย อ่ มม อี ำนาจห นา้ ทแี่ ละค วามร บั ผ ดิ ช อบม ากกวา่ แ ละเปน็ ผ บู้ งั คบั บ ญั ชาห รอื ก ำกบั
ดแู ลก ารป ฏบิ ตั งิ านต ำแหนง่ ท อี่ ยตู่ ำ่ ก วา่ ในส ายง านต รงข องต น หลกั ส ายก ารบ งั คบั บ ญั ชาน จี้ ะท ำใหท้ ราบว า่ ในก ารบ รหิ าร
และการปฏิบัติงานตำแหน่งงานใดอยู่เหนือกว่าตำแหน่งงานอื่นๆ หรือทำให้ทราบว่าใครเป็นหัวหน้าใคร ใครต้องรับ
คำส ัง่ จ ากใคร และใครต อ้ งร ายงานผ ลก ารป ฏบิ ตั งิ านต อ่ ใคร ดงั น ัน้ ห ลกั ส ายก ารบ งั คบั บ ญั ชาจ งึ เปน็ ห ลกั ก ารจ ดั อ งคก์ าร
ที่ทำให้ต ำแหน่งง านต ่างๆ เกิดความสัมพันธ์ก ันในแ นวต ั้ง (vertical relation)
3. หลักความชำนาญเฉพาะด้าน การจัดองค์การจะต้องพิจารณาถึงความสัมพันธ์ของงานที่จะรวมอยู่ใน
กลุ่มงาน กลุ่มภ ารกิจห รือส ่วนง านเดียวกัน โดยค วรร วมง านท ี่ม ีล ักษณะง าน ขอบเขตข องง าน และอ ำนาจห น้าที่ค วาม
รับผิดชอบเดียวกัน ใกล้เคียงกัน หรือมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดให้อยู่ในกลุ่มงานหรือส่วนงานเดียวกัน และ
มอบหมายให้ผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนทำงานตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ที่กำหนดไว้ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดความ
ชำนาญเฉพาะด้าน อันจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานต่อไป อย่างไรก ็ตามแม้ความชำนาญเฉพาะด้านถือ
เป็นห ลักการส ำคัญป ระการห นึ่งในก ารจ ัดอ งค์การ แต่ก ็ต ้องต ระหนักอ ยู่เสมอว ่าห ากเน้นค วามช ำนาญเฉพาะด ้านม าก
เกินไป โดยข าดการประสานง านท ี่ด ีระหว่างส่วนง านต่างๆ อาจส ่งผ ลให้เกิดก ารปฏิบัติงานแบบต ่างฝ ่ายต ่างทำ จนไม่
สามารถทำงานอย่างบูรณาการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การร่วมกันต่อไปได้ เพราะฉะนั้นในการจัดองค์การ
จึงต้องคำนึงถึงความชำนาญเฉพาะด้านให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมสอดคล้องหรือสมดุลกับหลักการอื่นๆ ในการจัด
องค์การ
4. หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา การปฏิบัติงานต่างๆ ในองค์การจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก
และรวดเร็วเมื่อมีการจัดองค์การโดยสอดคล้องกับหลักเอกภาพในการบังคับบัญชา (unity of command) โดย
กำหนดให้พ นักงานแ ต่ละค นน ั้นข ึ้นต รงต ่อห ัวหน้าง านห รือม ีผ ู้บ ังคับบ ัญชาเพียงค นเดียว เพราะเมื่อพ นักงานม ีห ัวหน้า
หรือผู้บังคับบัญชาท ี่ขึ้นต รงเพียงคนเดียวย่อมส่งผลดีต่อก ารป ฏิบัติงานตามได้รับมอบห มาย การควบคุมกำกับด ูแล
ลขิ สิทธขิ์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช