Page 149 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 149
การจัดองค์การ 4-21
2.2 สภาพแ วดลอ้ ม (Environment) สภาพแ วดลอ้ มข องแ ตล่ ะอ งค์การจ ะแ ตกต า่ งก นั ซึง่ จ ะส ่งผ ลต อ่ อ งคก์ าร
ในแง่ของค วามแ น่นอนและความไม่แน่นอนในท างการบ ริหารแ ละด ำเนินง าน องค์การท ี่มีส ภาพแ วดล้อมแตกต่างก ัน
ก็ย่อมต ้องการโครงสร้างอ งค์การเพื่อด ำเนินก ลยุทธ์ที่แตกต่างกันด้วย แต่อย่างไรก ็ตามในโลกป ัจจุบันคงยากที่จะมี
องค์การใดท ีม่ สี ภาพแ วดล้อมแ บบค งทีอ่ ย่างแ ทจ้ รงิ ดงั น ั้นท ุกอ งคก์ ารจ ึงต ้องม ปี ฏิสัมพันธแ์ ละเปลี่ยนแปลงก ารบ รหิ าร
และก ารด ำเนินง านไปต ามส ภาพแ วดล้อมท ั้งภ ายในแ ละภ ายนอก อาทิ นโยบายข องอ งค์การ สภาพเศรษฐกิจแ ละส ังคม
วิทยาการ ฯลฯ โดยอ งค์การท ี่ม ีส ภาพแ วดล้อมท ี่ค ่อนข ้างค งที่ไม่เปลี่ยนแปลงม ากน ักค วรอ อกแบบโครงสร้างอ งค์การ
แบบเครื่องจักรก ลหรือเป็นร ูปแบบโครงสร้างท ี่เป็นท างการ เช่น โครงสร้างอ งค์การแบบต ามหน้าที่ แต่หากอ งค์การมี
สภาพแ วดล้อมท ี่ม ีค วามเป็นพ ลวัต ซึ่งต ้องเปลี่ยนแปลงอ ย่างต ่อเนื่องก ็ค วรอ อกแบบโครงสร้างอ งค์การแ บบส ิ่งม ีช ีวิต
หรือเป็นรูปแบบการจัดองค์การแบบชั่วคราวและแบบสมัยใหม่ เช่น โครงสร้างองค์การแบบเมตริกซ์ แบบเครือข่าย
และแบบเสมือนจ ริง เป็นต้น
2.3 เทคโนโลยี (Technology) องค์การแ ต่ละอ งค์การย ่อมอ าศัยเทคโนโลยีในก ารผ ลิตแ ละก ารบ ริการท ี่แ ตก
ต่างกันไป และจากผลก ารศ ึกษาของเจมส์ ดี. ทอมป ส์ นั (James D. Thompson) พบว่าเทคโนโลยีการผลิตมีผ ลอย่าง
มากต่อการออกแบบโครงสร้างองค์การ โดยเทคโนโลยีการผลิตและบริการขององค์การต่างๆ จำแนกได้ 3 ประเภท
ใหญ่ๆ คือ เทคโนโลยีก ารผ ลิตจ ำนวนน ้อย เทคโนโลยีก ารผ ลิตจ ำนวนม าก และเทคโนโลยีก ารผ ลิตแ บบก ระบวนการ
องค์การท ีม่ เีทคโนโลยกี ารผ ลิตแ ละบ ริการในจ ำนวนน ้อยจ ะเหมาะส มก ับโครงสร้างอ งค์การแ บบเป็นท างการ เช่น แบบ
ตามห น้าที่ เพราะเน้นต อบส นองล ูกค้าเฉพาะร ายแ ละเน้นค วามช ำนาญเฉพาะด ้าน ส่วนอ งค์การท ีม่ เีทคโนโลยกี ารผ ลิต
และบ ริการจ ำนวนม ากอ าจจ ะเหมาะส มก ับโครงสร้างอ งค์การแ บบเป็นท างการห รือก ึ่งท างการก ็ได้ เช่น แบบต ามห น้าที่
แบบค ณะก รรมการ หรอื แ บบห นว่ ยธ รุ กจิ ก ลยทุ ธ์ ในข ณะท อี่ งคก์ ารท มี่ เี ทคโนโลยกี ารผ ลติ แ ละบ รกิ ารแ บบก ระบวนการ
จะม ลี ักษณะเป็นการผ ลิตแ ละบ ริการท ี่ต ่อเนื่อง โครงสร้างท ีเ่หมาะส มควรจ ะม ีค วามย ืดหยุ่นส ูง ซึ่งส ามารถจ ัดอ งค์การ
ได้ทั้งรูปแบบกึ่งทางการและรูปแบบที่ไม่เป็นทางการ เช่น โครงสร้างองค์การแบบเมตริกซ์ แบบหน่วยธุรกิจกลยุทธ์
แบบเครือข ่าย และแ บบเสมือนจริง เป็นต้น
2.4 ขนาดข ององคก์ าร (Size of Organization) องค์การแ ต่ละแห่งย ่อมมีขนาดท ี่แ ตกต ่างก ันไป โดยขนาด
ของอ งค์การจะใหญ่ห รือเล็กมักจ ะวัดหรือพ ิจารณาจ ากจ ำนวนข องผู้ปฏิบัติง านในองค์ก ารนั้นๆ เป็นสำคัญ ขนาดข อง
องค์การจึงเป็นอีกปัจจัยสำคัญที่ผู้บริหารจะต้องนำมาพิจารณาในการออกแบบโครงสร้างองค์การ เพราะโดยทั่วไป
แล้วจะพบว่าองค์การที่มีขนาดใหญ่เกินไปมักจะส่งผลให้การบริหารและการดำเนินงานขาดความคล่องตัว ล่าช้า มี
กฎระเบียบแ ละค วามเป็นท างการสูง ในข ณะที่อ งค์การขนาดเล็กจ ะม ีลักษณะเป็นองค์การท ี่ม ีความค ล่องตัว รวดเร็ว
ตลอดจนมีกฎระเบียบและความเป็นทางการในการทำงานน้อยกว่า ดังนั้นในการออกแบบโครงสร้างองค์การสำหรับ
องคก์ ารข นาดใหญม่ กั จ ะเป็นแ บบเครือ่ งจกั รก ลห รือแ บบเป็นท างการ เช่น องคก์ ารแ บบต ามห นา้ ที่ แบบต ามผ ลติ ภัณฑ์
เปน็ ตน้ สว่ นอ งคก์ ารข นาดเลก็ ม กั จ ะอ อกแบบโครงสรา้ งอ งคก์ ารแ บบส ิง่ ม ชี วี ติ ห รอื เปน็ แ บบไมเ่ ปน็ ท างการ เชน่ องคก์ าร
แบบเสมือนจริง และแบบเครือข ่าย เป็นต้น
2.5 วงจรชีวิตขององค์การ (Organization Life Cycle) แนวคิดการบริหารสมัยใหม่มักเปรียบองค์การ
เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ซึ่งจะมีวงจรชีวิตที่เหมือนกับสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไป และยังมีลักษณะใกล้เคียงกับวงจรชีวิตของ
ผลิตภัณฑ์ (product life cycle) โดยว งจรช ีวิตขององค์การจ ำแนกได้ 4 ช่วง คือ (1) แรกเริ่ม (2) เติบโต (3) เติบโต
เต็มที่ และ (4) คงที่และต กต่ำ โดยในช่วงข ององค์การย ่อมต ้องการแ นวทางก ารบ ริหารและก ารดำเนินงาน ตลอดจน
โครงสร้างองค์การที่แตกต่างกัน โดยในช่วงเริ่มแรกเป็นช่วงที่เริ่มจัดตั้งองค์การ อาจมีโครงสร้างองค์การแบบง่ายๆ
มีชั้นการบังคับบัญชาน้อย ซึ่งอาจจะไม่จำเป็นต้องจัดแบ่งงานหรือกลุ่มงานออกเป็นฝ่ายหรือแผนกงานต่างๆ ส่วน
ช่วงเติบโตก็เริ่มม ีการจ ำแนกง านอ อกเป็นฝ ่ายหรือแผนกง าน เพื่อแ ยกก ันป ฏิบัติง านต ามค วามช ำนาญเฉพาะด ้าน ใน
ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช