Page 150 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 150
4-22 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ที่ช่วงเติบโตเต็มที่องค์การจะมีความมั่นคงและเจริญเติบโตสูงสุด ซ่ึงย่อมจะมีความชัดเจนในการบริหารและดำเนิน
งานทุกด้าน รวมทั้งการออกแบบโครงสร้างองค์การที่จะต้องเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งโครงสร้างอาจเป็นไปได้ใน
หลายๆ รูปแบบทั้งแ บบเครื่องจักรก ลและแบบสิ่งม ีช ีวิต ไม่ว่าจ ะเป็นโครงสร้างองค์การแ บบต ามห น้าที่ แบบโครงการ
แบบเมต ริก ซ์ ฯลฯ ส่วนช ่วงค งที่แ ละต กต่ำเป็นช ่วงท ี่อ งค์การเผชิญก ับป ัญหาด ้านต ่างๆ การบ ริหารแ ละก ารด ำเนินง าน
จะเน้นก ารร ักษาส ถานภาพเพื่อใหส้ ามารถค งอ ยูไ่ด้ โดยย ังค งต ้องพ ยายามป รับต ัวใหส้ อดคล้องก ับส ภาพแ วดล้อมเพื่อ
ให้ส ามารถคงอ ยู่ได้ การออกแบบโครงสร้างอ งค์การจึงเน้นการเป็นองค์การแบบท างการห รือแ บบเครื่องจักรกล
จากป ัจจัยต ่างๆ ข้างต ้นจ ะเห็นว ่าม หี ลายป ัจจัยท ีผ่ ูบ้ ริหารแ ละผ ูท้ ีเ่กี่ยวข้องในก ารอ อกแบบโครงสร้างอ งค์การ
จะต้องน ำมาพิจารณาในการอ อกแบบโครงส ร้างองค์การ โดยแต่ละป ัจจัยอ าจมีน ้ำหนักห รือความส ำคัญที่แ ตกต ่างก ัน
ไปในแต่ละองค์การ แต่อย่างไรก็ตามในการออกแบบโครงสร้างองค์การสมัยใหม่จะมุ่งเน้นการออกแบบโครงสร้าง
องค์การแบบสิ่งมีชีวิตที่มีความยืดหยุ่นและมีความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงสูง โดยโครงสร้างองค์การที่เหมาะสม
กับการเปลี่ยนแปลง เช่น โครงสร้างองค์การแบบโครงการ แบบเมตริกซ์ แบบเครือข่าย แบบพีระมิดกลับหัว และ
แบบเสมือนจ ริง เป็นต้น
3. การจ ดั แ บ่งส่วนงาน
การจัดแบ่งส่วนงานอาจกระทำได้พร้อมๆ กับออกแบบหรือเลือกรูปแบบโครงสร้างองค์การหรือกระทำหลัง
จากต ัดสนิ ใจอ อกแบบห รอื เลือกร ูปแ บบโครงสร้างอ งค์การแ ล้วก ไ็ ด้ ในบ างต ำราจ ึงอ าจร วมก จิ กรรมในข ัน้ ก ารอ อกแบบ
โครงสร้างกับการจัดแบ่งส่วนงานหรือจัดแผนกงานไว้ด้วยกัน อย่างไรก็ตามการดำเนินการในขั้นการจัดแบ่งส่วน
งานนี้จะเป็นการแบ่งงานหรือกิจกรรมขององค์การออกเป็นส่วนงาน ฝ่าย หรือแผนกงาน (departmentation) ตาม
เหตุผลและความจำเป็นทางการบริหารและการดำเนินงานขององค์การ การจัดแบ่งส่วนงานจึงเป็นการพิจารณาถึง
ความแ ตกต่างก ันของงาน (differentiation) โดยแยกแยะห รือจำแนกงานที่แตกต่างกันออกจากกัน แล้วจึงจัดรวม
หรือบูรณาการ (integration) งานที่เหมือนหรือคล้ายกัน หรือมีความสัมพันธ์กันให้อยู่ในส่วนงานหรือแผนกงาน
เดียวกัน ซึ่งในการจัดแบ่งส่วนงานหรือแผนกงานนี้โดยทั่วไปจะอาศัยแนวทางในการดำเนินงานที่สำคัญเริ่มต้นด้วย
การแ ยกง านห รือก ิจกรรมท ีแ่ ตกต ่างก ันอ อกจ ากก ัน แล้วจ ึงร วมง านห รือก ิจกรรมท ีเ่หมือนก ันเข้าไวเ้ป็นกล ุ่ม หมวดหมู่
ฝ่ายห รือแ ผนกง านเดียวกัน หลังจ ากน ั้นค ่อยแ บ่งง านห รือก ิจกรรมต ่างๆ ใหแ้ กต่ ำแหน่งง านแ ละบ ุคลากรในแ ต่ละก ลุ่ม
หรือแ ต่ละแผนกงานตามความเหมาะสม
ในก ารพ ิจารณาว ่าจ ะจ ัดแ บ่งส ่วนง านห รือแ ผนกง านอ อกเป็นก ลุ่มๆ อย่างไรน ั้น อาจพ ิจารณาโดยอ าศัยว ิธกี าร
จัดแ บ่งส่วนงานตามรูปแ บบหรือหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น
3.1 การจ ดั แ บง่ ส ว่ นง านต ามห นา้ ท่ี เปน็ การจ ดั แ บง่ ส ว่ นง านท พี่ จิ ารณาจ ากห นา้ ทหี่ รอื ภ ารกจิ ห ลกั ข องอ งคก์ าร
เป็นสำคัญ โดยจะพิจารณาว่าหน้าที่หลัก (core function) ขององค์การที่สำคัญๆ มีอะไรบ้าง หลังจากนั้นจึงแบ่ง
ส่วนงานอ อกตามหน้าที่หลักน ั้นๆ เช่น ในอ งค์การภ าคเอกชนง านหรือหน้าที่หลักม ักได้แ ก่ การผลิต การตลาด และ
การเงิน การจัดแบ่งส ่วนง านต ามหน้าที่ก็จ ะแ บ่งเป็น ฝ่ายหรือแผนกผ ลิต ฝ่ายการต ลาด และฝ ่ายก ารเงิน เป็นต้น
3.2 การจ ดั แ บง่ ส ว่ นง านต ามพ นื้ ท่ี เป็นการจ ัดแ บ่งส ่วนง านท ี่พ ิจารณาถ ึงส ภาพท างภ ูมิศาสตร์ โดยจ ะจ ัดแ บ่ง
สว่ นง านห รือแ ผนง านอ อกต ามพ ืน้ ทตี่ า่ งๆ มกั พ บในอ งคก์ ารข นาดใหญท่ ีม่ สี าขาก ระจายอ ยูต่ ามภ มู ภิ าคต ่างๆ ในก ารจ ดั
แบ่งส ่วนง านแ บบน ี้จ ะพ ิจารณาว ่าก ิจกรรมห รือง านท ี่เกิดข ึ้นอ ยู่ในพ ื้นที่ใดก ็จ ะจ ัดง านห รือก ิจก รร มน ั้นๆ เข้าไว้ด ้วยก ัน
และจ ัดให้ม ีผู้รับผิดช อบในพ ื้นท ี่น ั้นๆ ต่อไป
3.3 การจดั แ บง่ ส ว่ นง านต ามผลิตภัณฑ์ เป็นการจ ัดแ บ่งส่วนง านที่ค ำนึงถึงประเภทของผ ลผลิตของอ งค์การ
เหมาะส ำหรับอ งค์การท ีม่ ปี ระเภทข องผ ลผลิตท ีห่ ลากห ลาย การจ ัดส ่วนง านต ามผ ลิตภัณฑย์ ังจ ะเพิ่มค วามช ำนาญแ ละ
ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช