Page 155 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 155
การจัดองค์การ 4-27
ความน ำ
การจัดองค์การจำแนกได้หลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนก ซึ่งเนื้อหาในตอนที่ 4.3 นี้
ขอจำแนกรูปแบบการจัดองค์การออกเป็น 3 รูปแบบใหญ่ๆ คือ (1) รูปแบบการจัดองค์การแบบเป็นทางการ
(2) รูปแบบการจัดองค์การแบบกึ่งทางการหรือแบบชั่วคราว และ (3) รูปแบบการจัดองค์การสมัยใหม่ โดยในแต่ละ
รูปแบบก จ็ ะแ ยกห รือแ บ่งก ารจ ัดอ งค์การไดอ้ ีกห ลายแ บบย ่อยๆ สำหรับในส ่วนข องก ารจ ัดอ งค์การแ บบเป็นท างการน ั้น
จะเป็นไปตามแ นวคิดการจัดอ งค์การแ บบดั้งเดิม หรือม ีลักษณะเป็นการจัดองค์การซึ่งสอดคล้องกับต ัวแบบองค์การ
ระบบปิด (closed model of organization) หรือมีลักษณะการออกแบบองค์การแบบเครื่องจักรกล โดยการจัด
องค์การแบบเป็นทางการนี้จะแสดงให้เห็นโครงสร้างหรือแผนภูมิองค์การอย่างชัดเจน ดังนั้นจึงเห็นถึงลำดับชั้นหรือ
สายก ารบ งั คบั บ ญั ชา ขอบเขตข องก ารส ัง่ ก ารแ ละก ารค วบคุมอ ย่างช ดั เจนต ามไปด ว้ ย และโครงสรา้ งด ังก ลา่ วจ ะม คี วาม
มั่นคงถ าวรห รือมีเสถียรภาพสูง โดยไม่อาจป รับเปลี่ยนต ามส ภาพแ วดล้อมท ี่เปลี่ยนแปลงได้โดยง่าย
ในข ณะที่รูปแบบก ารจ ัดองค์การแ บบก ึ่งทางการห รือแ บบช ั่วคราวน ั้นจะย ังคงแ สดงให้เห็นถ ึงโครงสร้างห รือ
แผนภูมิอ งค์การ ซึ่งม ีค วามล ดห ลั่นข องส ายก ารบ ังคับบ ัญชา แต่โครงสร้างด ังก ล่าวจ ะม ีค วามย ืดหยุ่นห รือม ีค วามเป็น
พลวัตสูงกว่ารูปแบบการจัดองค์การแบบเป็นทางการ กล่าวคือ โครงสร้างองค์การแบบกึ่งทางการหรือแบบชั่วคราว
จะสามารถปรับเปลี่ยนได้ง ่ายตามสภาพแ วดล้อมหรือส ถานการณ์ข ององค์การที่เปลี่ยนแปลงไป การจัดองค์การแบบ
ชั่วคราวจ ึงม ีล ักษณะผ สมผ สานร ะหว่างต ัวแ บบอ งค์การร ะบบเปิดก ับร ะบบป ิด และผ สมผ สานร ะหว่างก ารจ ัดอ งค์การ
แบบเครื่องจักรกลกับแบบสิ่งมีชีวิต แต่อย่างไรก็ตามองค์การแบบชั่วคราวก็มีลักษณะที่โน้มเอียงเป็นองค์การระบบ
เปิดมากกว่าระบบปิด และเป็นอ งค์การแบบสิ่งม ีช ีวิตมากกว่าก ารเป็นองค์การแบบเครื่องจักรกล
สำหรับร ูปแ บบก ารจ ัดอ งค์การส มัยใหม่น ั้นจ ะเป็นการจ ัดอ งค์การซ ึ่งส อดคล้องก ับต ัวแ บบอ งค์การร ะบบเปิด
(open model organization) เป็นร ูปแบบก ารจัดองค์การท ี่ม ีความยืดหยุ่นหรือม ีความค ล่องตัว ตลอดจ นม ีชีวิตช ีวา
(organic) สูงสุด โดยนำเสนอเพียงกรอบแนวคิดหลักในการจัดองค์การสมัยใหม่ซึ่งอาจไม่เห็นหรือไม่มีโครงสร้าง
หรือแ ผนภูมิอ งค์การท ี่ช ัดเจน เพราะส ายก ารบ ังคับบ ัญชาแ ละอ ำนาจห น้าที่ข องแ ต่ละต ำแหน่งจ ะผ ันแปรไปต ามส ภาพ
แวดล้อมห รอื ส ถานการณข์ องอ งคก์ ารท เี่ ปลี่ยนแปลงไป สำหรับร ายล ะเอยี ดแ ละต วั อยา่ งร ปู แ บบก ารจ ัดอ งคก์ ารท ั้งส าม
รูปแ บบน ั้นศ ึกษาได้จ ากเนื้อหาตอนที่ 4.3 เรื่องที่ 4.3.1-4.3.3
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช