Page 159 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 159
การจัดองค์การ 4-31
แผนกง านข าดโอกาสก ารเรียนร ู้ง านข องแ ผนกง านอ ื่น ทำให้ไม่รู้ง านข องอ งค์การในภ าพร วม ซึ่งอ าจจ ะเป็นป ัญหาห าก
ได้ร ับก ารแ ต่งต ั้งให้เป็นผู้บริหารระดับส ูงต ่อไป
2.2 องคก์ ารแ บบต ามผ ลติ ภณั ฑ์ (Product Organization) เป็นการจ ัดอ งค์การท ีเ่น้นจ ำแนกห น่วยง านภ ายใน
โดยคำนึงถึงประเภทของสินค้าหรือผลผลิตขององค์การ ซึ่งการจัดองค์การแบบนี้เหมาะสำหรับองค์การที่มีประเภท
ของผ ลผลิตห รือผ ลิตภัณฑท์ ีห่ ลากห ลาย การจ ัดส ่วนง านต ามผ ลผลิตห รือต ามผ ลิตภัณฑน์ ีย้ ังจ ะช ่วยเพิ่มค วามช ำนาญ
และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้อีกทางหนึ่งด้วย เพราะบุคคลผู้ปฏิบัติงานในส่วนงานใดก็จะคุ้นเคยกับผลผลิตหรือ
ผลิตภัณฑ์ของส่วนงานนั้นๆ เมื่อปฏิบัติงานในส่วนงานนั้นนานๆ ก็ย่อมเกิดความชำนาญในการทำงาน และสามารถ
พฒั นาค ณุ ภาพส นิ คา้ ห รอื ผลติ ภ ณั ฑน์ น้ั ๆ ใหด้ ยี ง่ิ ข น้ึ ตอ่ ไปได้ สำหรบั ตวั อยา่ งก ารจดั อ งคก์ ารแ บบน ้ี แสดงดงั ภาพท ่ี 4.5
ผู้จ ัดการ
หัวหน้าฝ่ายเครื่องป รับอากาศ หัวหน้าฝ ่ายเครื่องซ ักผ้า หัวหน้าฝ ่ายเครื่องทำน ้ำอ ุ่น
ภาพท่ี 4.5 ตวั อย่างการจ ดั อ งคก์ ารแบบผลติ ภณั ฑ์
จากภ าพท ี่ 4.5 เห็นได้ว ่าในแ ต่ละส ่วนง านจ ะจ ำแนกต ามผ ลผลิตห รือผ ลิตภัณฑ์ข องอ งค์การ เช่น ฝ่ายเครื่อง
ปรับอากาศก็จะผลิตเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น โดยจะมีผู้บริหารเป็นผู้กำกับดูแล และควบคุมการปฏิบัติงานใน
แต่ละฝ่าย สำหรับขอ้ ดขี องการจ ัดอ งค์การแ บบน ี้ท ี่สำคัญค ือ มีค วามสะดวก คล่องตัวในการปฏิบัติงาน และสามารถ
ตอบสนองค วามต ้องการข องลูกค้าในแ ต่ละผ ลิตภัณฑ์ได้ดี ส่วนข อ้ เสยี ที่สำคัญค ือ สิ้นเปลืองท รัพยากรในการบ ริหาร
และด ำเนินง านมาก และก ารประสานงานข ้ามสายผ ลิตภัณฑ์ทำได้ย าก
2.3 องค์การแบบตามพ้ืนที่ (Territory Organization) พบได้โดยทั่วไปในองค์การขนาดใหญ่ที่มีสาขา
หรือหน่วยงานย่อยกระจายอยู่ตามภูมิภาคหรือตามพื้นที่ต่างๆ การจัดองค์การแบบพื้นที่นี้จะมีสำนักงานกลางหรือ
สำนักงานใหญ่ซ ึ่งเป็นศูนย์กลางข องอ งค์การท ำห น้าที่ในการบริหารแ ละต ัดสินใจในเรื่องส ำคัญๆ ส่วนงานประจำแ ละ
งานท ี่เกี่ยวข้องกับก ารข ายส ินค้าห รือง านบ ริการต ่างๆ จะมอบใหห้ น่วยง านย ่อยห รือส าขาซ ึ่งก ระจายอยูต่ ามพ ื้นทีต่ ่างๆ
เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารและดำเนินงาน การจัดองค์การแบบนี้จึงช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการบริหารได้หาก
มีการแบ่งอำนาจ (deconcentration) หรือกระจายอำนาจ (decentralization) จากหน่วยงานกลางสู่ผู้จัดการหรือ
หัวหน้าง านต ามพื้นที่ต่างๆ สำหรับตัวอย่างก ารจ ัดองค์การแ บบพ ื้นที่ แสดงด ังภาพที่ 4.6
ผู้จัดการใ หญ่
ผู้จัดการภ าคเหนือ ผู้จัดการภาคกลาง ผู้จ ัดการภาคต ะวันอ อก ผู้จัดการภ าคใต้
ภาพท ่ี 4.6 ตวั อย่างการจดั อ งคก์ ารแบบพ้นื ที่
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช