Page 163 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 163
การจัดองค์การ 4-35
กิจกรรม 4.3.1
จงอธิบายสาระสำคญั ของก ารจดั อ งค์การแ บบตามหนา้ ที่ มาพอเขา้ ใจ
แนวต อบก ิจกรรม 4.3.1
องค์การแบบตามหนา้ ท่ี (Functional Organization) เป็นการจ ัดอ งคก์ ารซ งึ่ เนน้ การแบง่ ง านก ันท ำ ตาม
ความช ำนาญเฉพาะด า้ น โดยง านท ม่ี อี ำนาจห นา้ ทเี่ ดยี วกนั ห รอื ใกลเ้ คยี งก นั จ ะถ กู ร วมไวใ้ นส ว่ นง านห รอื แ ผนกงาน
เดียวกนั และแตล่ ะห น่วยง านจ ะม อี สิ ระในก ารป ฏบิ ตั ิงานภ ายใตข้ อบเขตอำนาจห น้าทีแ่ ละความรบั ผ ดิ ช อบของ
ตน แต่ย ังค งต้องป ระสานงานกันเพือ่ ก ารบ รรลุว ัตถุประสงคข์ ององคก์ ารโดยร วม
เรื่องที่ 4.3.2
รูปแ บบการจดั อ งคก์ ารแ บบช่วั คราว
รูปแบบการจัดองค์การแบบชั่วคราวหรือแบบกึ่งทางการ แม้จะเป็นการจัดองค์การที่มีการแสดงให้เห็นถึง
โครงสร้างหรือแผนภูมิองค์การเหมือนกับรูปแบบการจัดองค์การแบบเป็นทางการ แต่อย่างไรก็ตามการจัดองค์การ
ในร ูปแ บบน ี้โครงสร้างท ี่ม ีอ ยู่จ ะไม่แ น่นอนต ายตัว และส ามารถป รับเปลี่ยนได้ง ่ายก ว่าร ูปแ บบก ารจ ัดอ งค์การแ บบเป็น
ทางการ การจ ดั อ งคก์ ารในร ปู แ บบน จี้ งึ อ าจเรยี กอ กี อ ยา่ งห นึง่ ไดว้ า่ เปน็ ร ปู แ บบก ารจ ดั อ งคก์ ารแ บบป รบั ต วั ซึง่ โครงสรา้ ง
องค์การจะสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยในส่วนการจัดองค์การ
แบบช ั่วคราวน ี้ขอเสนอรูปแบบการจัดองค์การใน 3 รูปแบบ คือ การจ ัดอ งค์การแ บบค ณะกรรมการ การจ ัดอ งค์การ
แบบโครงการ และการจัดองค์การแ บบเมตริกซ์ ดังรายล ะเอียดต่อไปน ี้
1. การจ ดั อ งค์การแบบคณะกรรมการ
องค์การแบบคณะกรรมการ (Committee Organization) พบได้โดยทั่วไปในองค์การขนาดใหญ่ที่มีการ
ขยายต ัวข องห น่วยง าน มีป ริมาณง านแ ละม ีค วามซ ับซ ้อนในง านม าก จำเป็นต ้องม ีก ารป ฏิสัมพันธ์แ ละป ระสานร ะหว่าง
บคุ ลากรท ุกร ะดับในอ งคก์ ารม ากข ึน้ ต ามไปด ว้ ย ลักษณะข องก ารจ ัดโครงสร้างอ งคก์ ารแ บบน ีจ้ ะม กี ารก ำหนดใหบ้ คุ คล
หลายค นร ่วมก ันท ำงานเป็นท ีมในร ูปค ณะก รรมการ เพื่อร ับผ ิดช อบในก ารบ ริหารง าน การต ัดสินใจ และก ารป ฏิบัติงาน
ต่างๆ ในอ งค์การ ซึ่งค ณะก รรมการน ีอ้ าจเป็นไดท้ ั้งค ณะก รรมการป ระจำเพื่อป ฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างต ่อเนื่องต ลอดไป หรือ
เปน็ ค ณะก รรมการช ัว่ คราว (ad hoc) เพือ่ ด ำเนนิ ง านเฉพาะเรือ่ งก ไ็ ด้ และค ณะก รรมการแ ตล่ ะช ดุ ก จ็ ะม กี ารเลอื กบ คุ คล
คนห นึ่งในกรรมการ ขึ้นเป็นประธานกรรมการ (committee chair) ทำหน้าที่เป็นผ ู้นำในการประชุมเพื่อตัดสินใจใน
เรือ่ งต า่ งๆ ภายใตข้ อบเขตอ ำนาจห นา้ ทแี่ ละค วามร บั ผ ดิ ช อบข องค ณะก รรมการช ดุ น ัน้ ๆ สำหรบั ต วั อยา่ งก ารจ ดั อ งคก์ าร
แบบน ี้ แสดงด ังภาพท ี่ 4.11
ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช