Page 151 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 151
การจัดองค์การ 4-23
คุณภาพข องผ ลิตภัณฑ์ได้อีกท างหนึ่งด ้วย มักจ บได้ในองค์การภ าคเอกชนข นาดใหญ่ เช่น บริษัทผ ลิตเครื่องอุปโภค
บริโภค ที่อ าจจ ัดแ บ่งส่วนงานออกเป็น แผนกเครื่องใช้ แผนกเครื่องสำอาง แผนกสุขภัณฑ์ เป็นต้น
3.4 การจ ดั แ บง่ ส ว่ นง านต ามก ลมุ่ ล กู คา้ ห รอื ผ รู้ บั บ รกิ าร เป็นการจ ัดแ บ่งส ่วนง านท ีใ่หค้ วามส ำคัญก ับก ารต อบ
สนองค วามต ้องการข องล ูกค้าห รือผ ู้รับบ ริการ โดยแ ต่ละส ่วนง านจ ะม กี ลุ่มล ูกค้าห รือผ ู้รับบ ริการท ีเ่ป็นกล ุ่มเป้าห มายท ี่
เฉพาะเจาะจง เพื่อใหส้ ามารถต อบส นองความต ้องการข องล ูกค้าห รือผ ู้รับบ ริการได้อ ย่างเกิดค วามพ ึงพ อใจส ูงสุด เช่น
ห้างสรรพสินค้า จัดแบ่งแผนกงานออกเป็นแผนกเครื่องแต่งกายสตรี แผนกเครื่องแต่งกายบุรุษ แผนกของเด็กเล่น
หรือโรงเรียนสาธิตของม หาวิทยาลัยห ลายแห่ง จัดแ บ่งส่วนงานออกเป็นฝ ่ายประถม และฝ่ายม ัธยม เป็นต้น
นอกจากว ธิ กี ารจ ัดแ บ่งส ว่ นง านต ามห ลกั เกณฑต์ า่ งๆ ขา้ งต ้นแ ลว้ ในก ารจ ดั แ บง่ ส ่วนง านอ าจอ าศยั ห ลักเกณฑ์
อื่นๆ ได้อีก เช่น การจัดแบ่งส่วนงานตามกระบวนการในการปฏิบัติงาน การจัดแบ่งส่วนงานตามจำนวนบุคลากร
การจัดแบ่งส่วนงานตามโครงการ การจัดแบ่งส่วนงานตามสายงาน เป็นต้น ดังนั้น การที่องค์การจะจัดแบ่งส่วนงาน
ตามแ บบใดจ ึงข ึ้นอ ยูก่ ับค วามเหมาะส ม สถานการณ์ สภาพ ขนาด ภารกิจ วัตถุประสงค์แ ละค วามต ้องการข องอ งค์การ
ผู้บ ริหาร ตลอดจ นผ ู้ท ี่เกี่ยวข้องเป็นส ำคัญ นอกจากน ี้แล้วก ารด ำเนินการในข ั้นนี้ถือเป็นข ั้นที่สัมพันธ์ใกล้เคียงกับข ั้น
การอ อกแบบโครงสร้างองค์การเป็นอ ย่างมาก ดังน ั้นจึงอาจรวมห รือกระทำในขั้นตอนเดียวกันก็ได้
4. การก ำหนดสายก ารบงั คับบญั ชา
การกำหนดสายการบังคับบัญชาเป็นการกำหนดความสัมพันธ์ในงานระหว่างส่วนงานและตำแหน่งงานต่างๆ
ในองค์การ โดยจ ะกำหนดให้ล ดห ลั่นก ันลงไปตามต ำแหน่งแ ละระดับช ั้น พร้อมก ับก ำหนดช ่องท างการต ิดต่อส ื่อสาร
ช่วงของการสั่งการ และช่วงของการควบคุมของส่วนงานและตำแหน่งงานต่างๆ ให้เหมาะสม สายการบังคับบัญชา
จึงเป็นกลไกสำคัญในการกำหนดลำดับขั้นในการบังคับบัญชา โดยสายการบังคับบัญชาจะเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าส่วน
งานและตำแหน่งง านต่างๆ ในอ งค์การนั้นข ึ้นตรงก ับหน่วยงานห รือตำแหน่งง านใด อยู่ในลำดับข ั้นใด มีอ ำนาจในการ
สั่งการ ตรวจส อบแ ละก ำกับด ูแลส ่วนง านห รือต ำแหน่งง านใดบ ้างในอ งค์การ การจ ัดให้ม ีส ายก ารบ ังคับบ ัญชาในร ะดับ
ที่เหมาะสมจ ะช่วยแบ่งเบาภาระของผู้บริหารได้ เพราะจะมีการกระจายอำนาจและความรับผิดชอบส่วนหนึ่งไปให้แก่
บุคลากรระดับรองลงไปมีอำนาจในการตัดสินใจและช่วยกำกับดูแลการปฏิบัติงาน ดังนั้นในการจัดสายการบังคับ
บัญชาจ ึงต ้องค ำนึงถ ึงค วามเหมาะส มภ ายในอ งค์การ เพราะห ากม ีส ายก ารบ ังคับบ ัญชาม ากเกินไปย ่อมจ ะส ่งผ ลให้การ
ปฏิบัติงานต ้องผ ่านก ารต ัดสินในห ลายข ั้นต อนแ ละท ำใหง้ านล ่าช้าเกินค วามจ ำเป็น ในข ณะท ีห่ ากม สี ายก ารบ ังคับบ ัญชา
น้อยเกินไปก ็อ าจจะช่วยล ดภาระก ารบ ริหารของผู้บริหารได้ไม่มากน ัก
นอกจากนี้แล้วการกำหนดสายการบังคับบัญชายังต้องมีความชัดเจน เพื่อแสดงให้เห็นว่าตำแหน่งงาน
ใดเป็นผู้บังคับบัญชาของตำแหน่งงานอื่นๆ ตำแหน่งงานหนึ่งๆ ขึ้นตรงต่อตำแหน่งงานใดบ้างในองค์การ และการ
กำหนดส ายการบังคับบ ัญชาย ังค วรระวังมิให้เกิดค วามซ้ำซ ้อนห รือก ้าวก่ายก ันอ ีกด ้วย โดยจะต้องก ำหนดให้ง านหรือ
กิจกรรมหนึ่งๆ มีตำแหน่งงานที่รับผิดชอบที่ชัดเจน ซึ่งหากกำหนดให้งานหรือกิจกรรมหนึ่งๆ มีตำแหน่งงานที่
รับผ ิดช อบค ลุมเครือห รือม ีผ ู้รับผ ิดช อบห ลายต ำแหน่งในง านเดียวกันแ ล้วย ่อมส ่งผ ลให้การส ั่งก ารแ ละก ารป ฏิบัติง าน
เกิดค วามซ้ำซ ้อนได้ง ่าย และจ ะท ำให้ง านล่าช้าในที่สุด
5. การม อบอ ำนาจห น้าท่ีและค วามรบั ผ ดิ ช อบ
อำนาจหน้าที่ (authority) คืออำนาจที่ผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาได้มาโดยตำแหน่งหน้าที่ เป็นอำนาจใน
การส ัง่ ก ารใหผ้ อู้ ืน่ ห รอื ผ ใู้ ตบ้ งั คบั บ ญั ชาป ฏบิ ตั งิ านห รอื ไมป่ ฏบิ ตั งิ านอ ยา่ งใดอ ยา่ งห นึง่ ภายใตข้ อบเขตข องอ ำนาจห นา้ ที่
ของต ำแหน่งง านน ัน้ ๆ ส่วนค วามร ับผ ดิ ช อบ (responsibility) คือภ าระห รือพ นั ธะท ตี่ ำแหนง่ ง านต า่ งๆ มตี อ่ ง าน โดยจ ะ
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช