Page 146 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 146
4-18 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ว ่าโครงสร้างอ งค์การห ลายแ ห่งอ าจเป็นเพียงโครงสร้างแ บบช ั่วคราวท ีก่ ำหนดข ึ้นเพื่อด ำเนินก ารเฉพาะเรื่องห รือก ำหนด
ขึ้นเพื่อดำเนินการในภารกิจใดภารกิจหนึ่งโดยเฉพาะ เมื่อภารกิจดังกล่าวเสร็จสิ้นลงโครงสร้างแบบชั่วคราวก็จะมี
การป รับเปลี่ยนไปเพื่อป ฏิบัติภ ารก ิจอ ื่นๆ ที่อาจแ ตกต ่างจ ากภ ารกิจเดิมต ่อไป นอกจากน ี้แล้วอ งค์การแ ต่ละป ระเภท
ยังต้องการความย ืดหยุ่นในโครงสร้างอ งค์การที่แตกต ่างก ันอีกด้วย ดังเช่น องค์การภ าคเอกชนท ี่ต้องปฏิสัมพันธ์กับ
สภาพแ วดล้อมอ ย่างต ่อเนื่องแ ละม ีก ารแ ข่งขันก ันต ลอดเวลาย ่อมต ้องการโครงสร้างอ งค์การท ี่ยืดหยุ่นท ี่ส ามารถต อบ
สนองต่อก ารเปลี่ยนแปลงม ากกว่าองค์การภาคร ัฐที่เน้นก ารปฏิบัติงานต ามกฎระเบียบเป็นหลัก เป็นต้น และจ ากก าร
ที่จะต้องคำนึงถึงหลักความยืดหยุ่นในก ารจัดองค์การนี้ได้ส่งผ ลให้การจ ัดอ งค์การสมัยใหม่โดยเฉพาะในภาคเอกชน
มีล ักษณะเป็นอ งค์การต ามสถานการณ์ (contingency organization) หรืออ งค์การแ บบตัวอ มีบา (amoeba orga-
nization) ซึ่งเป็นรูปแบบองค์การท ี่มีค วามย ืดหยุ่นสูงเพิ่มมากข ึ้น
9. หลกั ก ารร วมอ ำนาจแ ละก ารกร ะจ าย อำน าจ การจ ัดโครงสร้างอ งค์การจ ะต ้องม ีก ารร วมอ ำนาจแ ละก ระจาย
อำนาจก ารบ ริหารแ ละก ารต ดั สินใจไปค วบคกู่ ันในร ะดับท ีเ่ หมาะส ม ซึง่ ผ ูบ้ รหิ ารจ ำเป็นต อ้ งพ จิ ารณาว ่าง านห รอื ก ิจกรรม
ใดค วรถ ูกร วมไว้เป็นอ ำนาจห น้าที่ข องผ ู้บ ริหาร เพื่อให้ผ ู้บ ริหารม ีอ ำนาจอ ย่างเต็มท ี่ในก ารต ัดสินใจว ่าค วรท ำอ ะไรห รือ
ไม่ค วรท ำอ ะไรในง านน ั้นๆ โดยง านท ี่ค วรร วมไว้เป็นอ ำนาจข องผ ู้บ ริหารน ั้นจ ะเป็นง านในร ะดับบ นข องอ งค์การ ซึ่งเป็น
งานที่มีความสำคัญต่อความอยู่รอดหรือการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ โดยงานดังกล่าวส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้อง
โดยตรงก บั ก ารบ รหิ าร การอ ำนวยก าร และต ดั สนิ ใจข ัน้ ส ดุ ทา้ ยในเรือ่ งท สี่ ำคญั ๆ ของอ งคก์ าร เชน่ การก ำหนดน โยบาย
การกำหนดก ลยุทธ์ เป็นต้น นอกจากห ลักการรวมอ ำนาจแล้ว ในการจัดโครงสร้างองค์การย ังต ้องให้ค วามส ำคัญกับ
หลักการกระจายอำนาจประกอบด้วย โดยการกระจายอำนาจจะเป็นการกระจายหรือให้สิทธิเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่
ความร ับผ ิดช อบ และก ารต ัดสินใจในก ารป ฏิบัตงิ านจ ากร ะดับบ ริหารล งไปส ูร่ ะดับป ฏิบัตกิ าร โดยเมื่อก ระจายง านใดส ู่
ระดับป ฏิบัตแิ ล้วอ ำนาจห น้าทีแ่ ละค วามร ับผ ิดช อบในง านน ั้นๆ กถ็ ือว่าเป็นข องผ ูป้ ฏิบัตงิ านน ั้น โดยฝ ่ายบ ริหารม ีหน้าที่
เพียงการกำกับดูแลให้งานนั้นเป็นไปตามมาตรฐานหรือเป็นไปตามกรอบที่องค์การกำหนดไว้เท่านั้น ซึ่งการกระจาย
อำน าจในล ักษณะด ังก ล่าวน ีเ้ป็นการก ระทำเพื่อพ ัฒนาศ ักยภาพในก ารป ฏิบัตงิ านข องร ะดับป ฏิบัตกิ าร และช ่วยแ บ่งเบา
ภาระง านของผ ู้บริหาร โดยง านหรือก ิจกรรมท ี่ควรก ระจายหรือให้สิทธิอ ำนาจแก่ผ ู้ปฏิบัติง านโดยส ่วนม ากจ ะเป็นงาน
ระดับต้นที่มีลักษณะเป็นงานประจำหรืองานทั่วๆ ไปขององค์การ เพราะฉะนั้นงานประจำหรืองานทั่วไปทั้งหมดควร
มอบให้ฝ่ายป ฏิบัติก ารสามารถดำเนินงานแ ละตัดสินใจในงานด ังกล่าวได้ด ้วยตนเอง
10. หลักความแ ตกต า่ งและก ารบรู ณาการ การจัดโครงสร้างองค์การจะต้องพิจารณาภาพรวมขององค์การว่า
มีงานใดที่จะต้องดำเนินการบ้าง ซ่ึงงานต่างๆ ย่อมจะมีเป็นจำนวนมากและมีความแตกต่างหลากหลาย (differentia-
tion) ยิ่งองค์การมีขนาด ภารกิจ และค วามซับซ้อนมากข ึ้นเท่าใดค วามแ ตกต่างข องง านต ่างๆ ในองค์การย ่อมมีมาก
ขึ้นเท่านั้น การจัดองค์การจึงจำเป็นต้องแยกแยะหรือจำแนกงานที่แตกต่างกันออกจากกันเป็นงานๆ หรือเป็นส่วนๆ
แล้วจ ึงจ ัดร วมห รือบ ูรณาการ (integration) งานท ีเ่หมือนก ัน คล้ายคลึงห รือใกลเ้คียงก ันไวเ้ป็นกล ุ่มง านเดียวกัน งาน
ที่ไม่เกี่ยวก ันก ็จ ัดไว้ค นละกลุ่มง าน หลักการความแตกต่างแ ละการ บูร ณาก ารน ี้จ ึงเป็นห ลักการประการหนึ่งที่จ ะท ำให้
ได้ม าซึ่งแผนกงานห รือส ่วนง านในองค์การท ี่เหมาะสมต่อวัตถุประสงค์แ ละภารกิจขององค์การ
จากหลักพิจารณาในการจัดองค์การข้างต้นจะพบว่าในการจัดองค์การจะต้องพิจารณาถึงหลักการหลายๆ
ประการป ระกอบก ัน เพื่อให้ได้ม าซ ึ่งโครงสร้างอ งค์การท ี่เหมาะส ม สอดคล้องก ับว ัตถุประสงค์ ภารกิจ ตลอดจ นค วาม
ต้องการข องอ งค์การแ ละบ ุคลากร การจ ัดอ งค์การจ ึงถ ือเป็นห น้าที่ส ำคัญป ระการห นึ่งข องผ ู้บ ริหารท ี่จ ะต ้องด ำเนินก าร
โดยอ าศยั ก ารม สี ว่ นร ว่ มข องบ คุ ลากรเพือ่ ก ำหนดโครงสรา้ งท เี่ อือ้ ป ระโยชนใ์ หก้ ารบ รหิ ารแ ละก ารด ำเนนิ ง านข องอ งคก์ าร
สู่การบ รรลุผ ลสำเร็จตามที่ก ำหนดไว้ต ่อไป
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช