Page 136 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 136
4-8 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
องค์การ ทำให้ก ระบวนการไหลข องง าน (workflow process) เป็นอย่างร าบร ื่น สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
ตลอดจนส ามารถตอบสนองค วามต้องการและแก้ปัญหาให้กับลูกค้าหรือผู้รับบริการได้อย่างเป็นที่พึงพอใจต่อไป
กิจกรรม 4.1.1
การจัดอ งค์การม คี วามหมายและค วามส ำคญั อยา่ งไร
แนวต อบก จิ กรรม 4.1.1
การจ ัดองค์การคอื ก ารจ ดั โครงสรา้ งความสัมพนั ธ์ข องต ำแหนง่ งานต ่างๆ ในอ งค์การ โดยมคี วามสำคญั
ของก ารจ ดั อ งคก์ ารห ลากป ระการ ไมว่ า่ จ ะเปน็ ค วามส ำคญั ต อ่ อ งคก์ าร ตอ่ ก ารป ฏบิ ตั งิ าน ตอ่ ผ บู้ รหิ าร ตอ่ ผ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน
และค วามสำคญั ต อ่ ล กู คา้ ห รอื ผรู้ บั บ ริการ
เรอ่ื งท ่ี 4.1.2
แนวคดิ เก่ยี วก บั ส ว่ นป ระกอบของโครงสรา้ งองค์การ
โครงสร้างองค์การเปรียบเสมือนโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตที่จะประกอบไปด้วยอวัยวะหรือส่วนประกอบต่างๆ
โดยอวัยวะหรือส่วนประกอบต่างๆ เหล่านั้นต ่างต้องทำห น้าที่ของต น ซึ่งนอกจากการทำห น้าที่ของตนเองแล้วอวัยวะ
หรือส่วนประกอบต่างๆ ยังต้องมีปฏิสัมพันธ์หรือปฏิบัติการร่วมกันกับส่วนอื่นๆ เพื่อให้สิ่งมีชีวิตนั้นอยู่รอดได้
เช่นเดียวกับโครงสร้างองค์การที่จะต้องประกอบด้วยส่วนประกอบต่างๆ ที่ต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนแล้วยังต้อง
ปฏิบัติง านร ่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ข ององค์การ โดยโครงสร้างองค์การต ามทรรศนะข องเฮนรี มิน ทซ์ เบอรก์
(Henry Mintzberg) ประกอบด ้วยส่วนประกอบท ี่ส ำคัญ 5 ส่วน คือ (1) ส่วนปฏิบัติก าร (2) ส่วนเทคนิค (3) ส่วน
สนับสนุน (4) ส่วนระดับก ลาง และ (5) ส่วนกลยุทธ์ห รือส่วนระดับส ูง ซึ่งแต่ละส่วนประกอบจ ะปฏิบัติหน้าที่ที่สำคัญ
ดังนี้
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช