Page 312 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 312
6-84 องค์การแ ละการจ ัดการและก ารจัดการท รัพยากรม นุษย์
จากภาพที่ 6.23 เมื่อองค์การได้กำหนดแนวทางหลักในการดำเนินการในแง่ของพันธกิจและเป้าหมายแล้ว
ขั้นต่อไปจะมีการกำหนดกลยุทธ์และโครงสร้างองค์การเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับใช้ทรัพยากรที่นำไปสู่ความ
ได้เปรียบท างการแ ข่งขัน และในขั้นต่อไปจะม ีการก ำหนดมาตรวัดต ่างๆ ที่จ ะนำม าใช้วัดว่า องค์ป ระกอบของค วามได้
เปรียบทางการแข่งขันทั้ง 4 ด้านคือ ประสิทธิภาพ (Efficiency) คุณภาพ (Quality) นวัตกรรม (Innovation) และ
ความส ามารถในก ารต อบส นองค วามต อ้ งการล กู ค้า (Customers Responsiveness) มีแนวโน้มก ารพ ฒั นาเป็นอ ยา่ งไร
องค์ป ระกอบท ั้ง 4 ด้านนี้เป็นตัวช ี้ว ัดสำหรับอนาคตของอ งค์การว่าจ ะม ีความพร้อมในการแ ข่งขันห รือไม่ หลังจากน ั้น
ในขั้นตอนสุดท้ายจึงจะมีการนำมาตรวัดทางการเงินต่างๆ (Financial Measure) มาใช้เพื่อวัดผลประกอบการของ
องค์การ จะเห็นได้ว ่า ตัวแ บบ Balanced Scorecard Model เสนอให้มีการว ัดหรือจ ัดทำเครื่องมือวัดใน 4 มิติ คือ
1. พันธกิจและเป้าหมาย เป็นมิติที่เกี่ยวกับการกำหนดแนวทางหลักในการดำเนินการขององค์การ ซึ่งจะ
ต้องม ีการกำหนดม าตรว ัด (Measure) เพื่อใช้วัดว ่าอ งค์การค วรด ำเนินต ามแ นวทางท ี่ก ำหนดไว้หรือไม่ หรือถึงค ราว
ที่จะต้องปรับเปลี่ยนแ นวทางใหม่ มาตรวัดซึ่งอ าจน ำม าใช้ได้ในข ั้นตอนน ี้ คือ ข้อมูลที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจ ตลาด ลูกค้า
แนวโน้มแ ละก ารเปลี่ยนแปลงของอ ุตสาหกรรมและก ารแ ข่งขัน เช่น ถ้าเคยใชต้ ัวเลขม ูลค่าต ลาดท ีส่ ูงในอ ุตสาหกรรมท ี่
มีการเติบโตแ ละเศรษฐกิจท ี่ดี ถ้าเศรษฐกิจเปลี่ยนไป มูลค่าตลาดม ีแนวโน้มลดลง อุตสาหกรรมม ีคู่แข่งเข้าม ามากขึ้น
ก็อาจถึงเวลาต้องปรับแนวทางกันใหม่ ดังนั้น ตัวเลขทางสถิติของเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การแข่งขัน และตลาด
จึงเป็นส ิ่งที่ต ้องน ำม าตรวจสอบและเฝ้าร ะวังอ ย่างใกล้ชิดว่าเปลี่ยนไปจากส มมติฐานเดิมที่องค์การเคยใช้อยู่ห รือไม่
2. กลยุทธ์และโครงสร้าง เป็นมิติที่เกี่ยวกับการพัฒนากลยุทธ์และโครงสร้างเพื่อดำเนินตามพันธกิจและ
เป้าห มายท ี่ใช้อ ยู่ หรือโครงสร้างอ งค์การท ี่ใช้อ ยู่ส ามารถช ่วยให้ผ ลป ระกอบก ารข องอ งค์การเป็นไปต ามท ี่ค าดห วังห รือ
ไม่ เช่น ในก รณีของ McDonald’s ใช้ก ลยุทธ์ Franchising ในก ารขยายตัว และใช้โครงสร้างที่เน้นการกำกับค วบคุม
อย่างเคร่งครัด หรือเรียกว่า Q.S.C. & V (Quality Food : Fast / Friendly Service : Restaurant Cleanliness :
and Menus That Provides Values) มาตรว ัดท ี่อ าจพ ัฒนาข ึ้นเพื่อช ี้ว ัด เช่น อัตราก ารข ยายต ัวข องร ้าน Franchisee
และภาพลักษณ์ด้านค ุณภาพที่ได้ร ับก ารย อมรับจ ากล ูกค้า เป็นต้น
3. องค์ประกอบความได้เปรียบทางการแข่งขัน เป็นมิติที่มีความสำคัญมากต่อผลประกอบการในอนาคต
ขององค์การ ซึ่งองค์การมีความจำเป็นต้องพัฒนามาตรวัดเพื่อใช้วัดและเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันว่าในองค์ประกอบ
ข้างต ้น องค์การม ีจ ุดแข็งแ ละจ ุดอ ่อนเป็นอย่างไร องค์ประกอบความได้เปรียบท างการแ ข่งขัน คือ
3.1 ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ความสามารถในการดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์โดยใช้
ต้นทุนต ่ำส ุด ประสิทธิภาพด้านต ่างๆ ของอ งค์การซ ึ่งจ ะต ้องส ร้างเครื่องว ัดด ้านก ารต ลาด (Marketing Process) ด้าน
การขนส่งและลำเลียงส ินค้า (Logistic Process) เป็นต้น ซึ่งม าตรวัดที่อาจนำมาใช้ เช่น ต้นทุนของวัตถุดิบ ระดับ
ของต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย ต้นทุนการบริหารด้าน Logistic คิดเป็นร้อยละของยอดขาย ความ
สามารถข องพ นักงานข าย 1 คน ในก ารก ่อให้เกิดร ายได้ และจ ำนวนเวลาท ี่ใช้ในก ารผลิตส ินค้า 1 หน่วย เป็นต้น เช่น
จำนวนช ั่วโมงท ี่ใช้ในก ารผ ลิตร ถ 1 คันข อง Nissan คือ 17.60 ชั่วโมง เมื่อเปรียบเทียบก ับ 19.30 ชั่วโมงข อง Toyota
และ 25.00 ชั่วโมงข อง Ford 27.80 ชั่วโมงข อง Chryslet และ 30.26 ชั่วโมงข อง General Motor จะต ีความได้ว ่า
ประสิทธิภาพในก ารผ ลิตมองในแ ง่ของเวลาที่ใช้ในก ารผลิตร ถยนต์ 1 คัน ของ Nissan จะด ีท ี่สุด
3.2 คุณภาพ (Quality) หมายถึง ความเป็นที่พึ่งได้หรือเชื่อถือได้ (Reliability) ของผลิตภัณฑ์หรือ
บริการท ีจ่ ะท ำห นา้ ทีโ่ ดยก ารใหค้ ณุ คา่ (Value) แก่ลกู คา้ ต ามร ะบุ เราอ าจแ ยกม องค ณุ ภาพไดใ้นห ลายม ิติ เช่น คุณภาพ
จากภ าพล กั ษณ์ (Image Quality) คณุ ภาพจ ากผ ลติ ภณั ฑ์ (Product Quality) และค ณุ ภาพจ ากก าร ออ บแ บบ (Design
Quality) เป็นต้น ซึ่งม าตรวัดท ี่อ าจนำม ากำหนดใช้วัด เช่น จำนวนของเสียในกระบวนการผ ลิต จำนวนผลิตภัณฑ์ซึ่ง
บกพร่อง และถ ูกส่งค ืนโดยลูกค้า การท ำหน้าที่ได้ตามอายุงานข องผลิตภัณฑ์ เป็นต้น
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช