Page 8 - พฤติกรรมมนุษย์และจริยธรรมทางเศรษฐกิจและธุรกิจ
P. 8

8-6 พฤติกรรม​มนุษย์​และ​จริยธรรม​ทางเ​ศรษฐกิจและธุรกิจ

เร่ืองท​ ี่ 8.1.1
ความ​เปน็ ม​ า​และ​แนวคิดพ​ ้นื ฐ​ านข​ องก​ ารก​ ำกับ​ดูแลก​ ิจการ

       ใน​ทาง​เศรษฐกิจ​เมื่อ​กล่าว​ถึง​ผู้​ผลิต​และ​ผู้​ประกอบ​การ (entrepreneur) จะ​หมาย​รวม​ถึง​ผู้​ที่​เป็น​เจ้าของ​
ทุน​และ​ผู้​ดำเนินก​ าร​ที่​เป็น​บุคคลค​ น​เดียวกัน ซึ่ง​จะ​สะท้อน​ถึง​กิจการ​ใน​รูป​แบบ​ของ​กิจการ​ที่​มี​เจ้าของ​คน​เดียว (sole
enterprise) แตก่​ ารป​ ระกอบก​ ารใ​นร​ ูปแ​ บบข​ องบ​ ริษัทจ​ ำกัด ห้างห​ ุ้นส​ ่วนจ​ ำกัด และบ​ ริษัทม​ หาชน จำกัด ผูท้​ ีเ่​ป็นเ​จ้าของ​
ทุน​อาจ​ไม่​ได้​เป็น​บุคคล​คน​เดียวกัน​กับ​ผู้​ดำเนิน​กิจการ หรือ​ผู้​เป็น​เจ้าของ​จะ​แยก​กับ​ผู้​ดำเนิน​การ​หรือ​มี​ผู้​ดำเนิน​การ​
แทน​ตาม​ทฤษฎี​ตัวแทน (Agent Theory) ปัญหา​ที่​เกิด​ขึ้น​คือ ผู้​ทำ​หน้าที่​เป็น​ตัวแทน​หรือ​ดำเนิน​กิจการ​ที่​ไม่​ได้​เป็น​
เจ้าของ​ทุนอ​ าจ​มีจ​ ิตสำนึกร​ ับผ​ ิดช​ อบต​ ่อ​การใ​ช้เ​งิน​ทุนข​ อง​ผู้​อื่น​น้อย​กว่า​ผู้​ที่เ​ป็น​เจ้าของ​เงินท​ ุนท​ ี่แท้​จริง​เอง ซึ่ง​จะน​ ำ​ไป​
สู่​การ​บริหาร​ที่ม​ ี​ความ​เสี่ยง

       คำถาม​ที่​เกิด​ขึ้น​คือ​ผู้​ดำเนิน​การ​หรือ​ผู้​บริหาร​กิจการ​ควร​จะ​มี​สำนึก​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​กิจการ​อย่างไร ควร​
จะร​ ับผ​ ิดช​ อบเ​พียงแ​ ต่​การป​ ฏิบัติต​ ามห​ น้าที่ท​ ี่ไ​ด้ร​ ับ​มอบต​ ามท​ ี่​กำหนดไ​ว้เ​ป็นพ​ ื้นฐ​ านเ​ท่านั้น หรือค​ วรม​ ี​ส่วนร​ ับผ​ ิดช​ อบ​
เฉก​เช่น​เดียว​กับ​ผู้​เป็น​เจ้าของ​ทุน หรือ​ปฏิบัติ​งาน​ใน​ฐานะ​เป็น​ผู้​ที่​ได้​รับ​ความ​ไว้​วางใจ โดย​ปฏิบัติ​หน้าที่​โดย​มี​ความ
​รับผ​ ิด​ชอบต​ ่อ​ผู้ถ​ ือ​หุ้น​หรือเ​จ้าของท​ ุนด​ ้วย

       การ​วางห​ ลัก​การข​ อง​การเ​ป็น​ตัวแทน​นี้ จะ​นำไ​ปส​ ู่​การ​กำหนดโ​ครงสร้าง​การด​ ำเนิน​งานร​ วมท​ ั้ง​ขอบเขตอ​ ำนาจ​
หน้าที่​ของ​ผู้​เป็น​ตัวแทน และ​ก็​เป็น​ที่มา​ของ​การ​จัด​ระบบ​การ​จัดการ​และ​การ​กำกับ​ดูแล​กิจการ หรือ Corporate
Governance ขึ้นใ​นอ​ งค์กร

1. ความ​เปน็ ม​ า​ของก​ ารก​ ำกับ​ดแู ล​กจิ การ

       แนวคิด​เกี่ยว​กับ​การ​กำกับ​ดูแล​กิจการ​เริ่ม​มี​ขึ้น​ภาย​หลัง​จาก​การ​เกิด​วิกฤตการณ์​ความ​ไม่​โปร่งใส​ของ​บริษัท​
ยักษ์​ใหญ่​ใน​สหรัฐอเมริกาท​ ี่​เกิดข​ ึ้น​ใน​ พ.ศ. 2544 - 2545  ซึ่งเ​ป็น​ช่วงท​ ี่​บริษัทเ​อน​รอน บริษัท​เวิลด์ค​ อม บริษัทซ​ ีรอกซ์
บริษัทอ​ เมริกันอ​ อนไลน์ บริษัทจ​ อห์นส​ ันแ​ อนดจ์​ อห์นส​ ัน ซึ่งเ​ป็นบ​ ริษัทย​ ักษใ์​หญใ่​นว​ งการธ​ ุรกิจข​ องส​ หรัฐอเมริกาไ​ดร้​ ับ​
การ​ตรวจ​สอบ​พบ​ว่า​มี​การ​ตกแต่ง​ตัวเลข​ทาง​บัญชี ถึง​ขั้น​มี​การ​ปลด​ผู้​บริหาร​ระดับ​สูง​ออก​ตำแหน่ง​ด้วย​ข้อหา​มี​การ​ใช้​
อำนาจ​ไปใ​น​ทางม​ ิ​ชอบ และ​บาง​บริษัท​ถึงข​ ั้นล​ ้ม​ละลาย ส่งผ​ ลก​ระ​ทบเ​สีย​หายต​ ่อ​ตลาดท​ ุน ร​ วมท​ ั้งก​ ระทบต​ ่อ​เศรษฐกิจ​
ของ​ประเทศ​ต่างๆ ทั่ว​โลก​อย่าง​รุนแรง โดย​มี​การ​ประเมิน​ว่า​ส่วน​หนึ่ง​เป็น​ผล​จาก​การ​ที่​บริษัท​มี​ระบบ​การกำกับ​ดูแล​
กิจการท​ ีอ​่ ่อนแอ เนือ่ งจากค​ ณะก​ รรมการบ​ รษิ ัทไ​ดล​้ ะเลยก​ ารต​ รวจส​ อบก​ ารท​ ุจรติ ข​ องฝ​ ่ายบ​ รหิ ารอ​ ยา่ งจ​ รงิ จังด​ ว้ ยไ​ดร้​ บั ​
แรงจ​ ูงใจจ​ ากก​ ารไ​ดร้​ ับผ​ ลต​ อบแทนจ​ ำนวนม​ หาศาล จึงเ​ป็นท​ ี่มาถ​ ึงค​ วามจ​ ำเป็นท​ ีจ่​ ะต​ ้องม​ กี​ ารป​ รับปรุงแ​ ละป​ ฏิรูปร​ ะบบ​
การก​ ำกับด​ ูแลก​ ิจการท​ ั้งใ​นร​ ะดับบ​ ริษัท สมาคม​ ในร​ ะดับป​ ระเทศ​ และร​ ะหว่างป​ ระเทศข​ ึ้น เพื่อเ​ป็นก​ ลไกก​ ารต​ รวจส​ อบ
ซ​ ึ่ง​กัน​และ​กันร​ ะหว่าง​ผู้ม​ ี​อำนาจใ​นบ​ ริษัท ได้แก่ ผู้ถ​ ือ​หุ้น คณะ​กรรมการ และฝ​ ่าย​บริหาร

       ใน​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา ผล​ของ​การ​ล้ม​ละลาย​ของ​บริษัท​ยักษ์​ใหญ่​หลาย​บริษัท​ทำให้​สหรัฐอเมริกา​ได้​ออก​
กฎหมาย Sarbanes-Oxley ขึ้น​ใน​เดือน​กรกฎาคม พ.ศ. 2545 โดย​มี​เนื้อหา​ที่​เป็นการ​กำหนด​แนวทาง​ปฏิบัติ​แก่​
ผูบ้​ ริหารข​ องบ​ ริษัท คณะก​ รรมการต​ รวจส​ อบ และผ​ ูส้​ อบบ​ ัญชขี​ องบ​ ริษัท เพื่อเ​รียกค​ วามเ​ชื่อม​ ั่นจ​ ากน​ ักล​ งทุน กฎหมาย​
นี้​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​อย่าง​กว้าง​ต่อ​ผู้​ประกอบ​วิชาชีพ​และ​ผู้​สอบ​บัญชี​ทั่ว​โลก เนื่องจาก​มี​การ​บังคับ​ใช้​ไม่​เพียง​แต่​บริษัท​ใน​
ประเทศเ​ท่านั้น แต่​ยังร​ วม​ไปถ​ ึงบ​ ริษัท​ลูก​ที่ม​ ีเ​ครือ​ข่าย​อยู่​ใน​ต่างป​ ระเทศด​ ้วย

                             ลิขสิทธิข์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13