Page 10 - พฤติกรรมมนุษย์และจริยธรรมทางเศรษฐกิจและธุรกิจ
P. 10

8-8 พฤติกรรม​มนุษย์​และจ​ ริยธรรมท​ างเ​ศรษฐกิจและธุรกิจ

สามารถ​ใน​การ​แข่งขัน นำ​ไป​สู่​การ​เจริญ​เติบโต การ​เพิ่ม​คุณค่า​ให้​กับ​ผู้​ถือ​หุ้น​ใน​ระยะ​ยาว โดย​คำนึง​ถึง​ผู้​มี​ส่วน​ได้​
ส่วนเสียอ​ ื่น​ประกอบ”

       จากค​ วามห​ มายข​ องก​ ารก​ ำกับด​ ูแลก​ ิจการท​ ีม่​ ผี​ ูใ้​หค้​ วามห​ มายไ​วอ้​ ย่างห​ ลากห​ ลายแ​ ละแ​ ตกต​ ่างก​ ันด​ ังก​ ล่าว พอ​
จะ​สรุปไ​ด้ว​ ่า การ​กำกับด​ ูแล​กิจการ​เป็น​แนวทาง​บริหารก​ ิจการ​ที่ม​ ุ่งเ​น้นใ​ห้อ​ งค์กรธ​ ุรกิจม​ ี​ความร​ ับ​ผิดช​ อบต​ ่อ​ผู้​ที่​มีส​ ่วน​
เกี่ยวข้องก​ ับธ​ ุรกิจ ซึ่งถ​ ้าต​ ามค​ วามห​ มายอ​ ย่างแ​ คบจ​ ะห​ มายถ​ ึงผ​ ูถ้​ ือห​ ุ้นห​ รือผ​ ูเ้​ป็นเ​จ้าของ แตต่​ ามค​ วามห​ มายอ​ ย่างก​ ว้าง​
จะห​ มายถ​ งึ ผ​ มู​้ ส​ี ว่ นไ​ดส​้ ว่ นเสยี ก​ บั อ​ งคก์ รธ​ รุ กจิ ท​ ัง้ หมด ประกอบด​ ว้ ย พนกั งาน ผบู​้ รโิ ภค ผขู​้ าย ชมุ ชน และป​ ระชาชนโ​ดย​
ทั่วไป ซึ่ง​จะ​ทำให้​การก​ ำกับ​ดูแลก​ ิจการค​ รอบคลุม​ไปถ​ ึง​เรื่องข​ อง​ความ​รับผ​ ิด​ชอบข​ อง​องค์กร​ธุรกิจ​ที่​มี​ต่อ​สังคม​ด้วย

3. ทฤษฎีท​ ใ​่ี ช​ใ้ น​การ​วิเคราะห​์การก​ ำกบั ด​ แู ล​กจิ การ

       ทฤษฎี​ที่​นำ​มา​ใช้​ใน​การ​อธิบาย​หรือ​วิเคราะห์​มูล​เหตุ​ที่​ทำให้​ต้อง​มี​ระบบ​การ​กำกับ​ดูแล​กิจการ​มี​หลาย​ทฤษฎี
และแ​ ม้ว่าแ​ ต่ละท​ ฤษฎีจ​ ะม​ ีม​ ุมม​ องท​ ี่แ​ ตกต​ ่างก​ ันแ​ ต่ก​ ็ม​ ุ่งส​ ู่ก​ ารอ​ ธิบายถ​ ึงส​ าเหตุท​ ี่ท​ ำให้เ​กิดป​ ัญหาด​ ้านจ​ ริยธรรมภ​ ายใน​
องค์กร​จนน​ ำไ​ปส​ ู่ก​ าร​ต้องม​ ีร​ ะบบ​การ​กำกับด​ ูแล​กิจการ​ที่ด​ ี​ขึ้น​ใน​องค์กร ทฤษฎี​ที่​สำคัญ​มี 3 ทฤษฎี คือ

       3.1 	ทฤษฎี​ตัวแทน (Agency Theory) เป็นการอ​ ธิบาย​ถึง​บทบาทข​ อง​ผู้​ถือ​หุ้น หรือ​ผู้​เป็น​เจ้าของ หรือ​ที่​เรียก​
ว่า​ตัวการ (principal) กับ​ผู้​จัดการ หรือ​ที่​เรียก​ว่า​ตัวแทน (agent) ที่​แยก​ออก​จาก​กัน และ​ต่าง​มี​ผล​ประโยชน์​หรือ​
เป้าห​ มายส​ ่วนต​ น (self - interest) ที่แ​ ตก​ต่าง​กัน​ ซึ่งถ​ ือว่า​เป็น​ปัญหาข​ ้อข​ ัดแ​ ย้งพ​ ื้น​ฐาน​ของ​ผู้เ​ป็น​เจ้าของแ​ ละ​ตัวแทน​
หรือ​เป็นป​ ัญหาข​ องก​ ารม​ ีต​ ัวแทน

       ผถู​้ ือห​ ุ้น ซึง่ ถ​ อื วา่ เ​ปน็ เ​จา้ ของบ​ ริษทั  ต​ ามท​ ฤษฎกี​ ารเ​งนิ ม​ ขี​ ้อส​ มมตวิ​ า่ ผ​ ูถ้​ อื ห​ ุ้นม​ วี​ ตั ถปุ ระสงคห์​ ลกั คือ เพื่อใ​หไ้​ด​้
ผลต​ อบแทนส​ งู สดุ (wealth or value maximization) ในร​ ะยะย​ าว ในข​ ณะท​ ผี​่ จู​้ ดั การม​ ว​ี ตั ถปุ ระสงคท​์ เี​่ ปน็ ผ​ ลป​ ระโยชน​์
ส่วน​ตน คือ เงินเ​ดือน โบนัส ค่า​ตอบแทนพ​ ิเศษ และก​ าร​เลื่อน​ตำแหน่ง ซึ่งท​ ำให้​มี​พฤติกรรมท​ ี่​มุ่ง​ผลป​ ระโยชน์ส​ ่วน​ตน​
ใน​ระยะ​สั้น​มากกว่า​ที่​จะ​คำนึง​ถึง​เป้า​หมาย​ของ​บริษัท​ใน​ระยะ​ยาว ดัง​นั้น จึง​มี​แนว​โน้ม​ที่​จะ​เป็น​ไป​ได้​ว่า​ผู้​จัดการ​จะ​มี​
ความ​โน้ม​เอียง​ที่จ​ ะ​ให้​ความ​สนใจ​ใน​โครงการห​ รือ​การ​ลงทุน​ที่​ให้​ผล​ตอบแทน​ในร​ ะยะ​สั้นแ​ ละ​มี​ความ​เสี่ยง​สูง​มากกว่า​
การ​ให้​เกิด​ผล​ตอบแทน​สูงสุดแ​ ก่ผ​ ู้​ถือห​ ุ้นใ​น​ระยะย​ าว

       ต้นทุน​ที่​เกิด​ขึ้น​ต่อ​ผู้​ถือ​หุ้น​จาก​การ​ที่​ต้อง​มี​ผู้​ดำเนิน​กิจการ​แทน​คือ​ต้นทุน​ธุรกรรม​ทั้ง​ที่​เปิด​เผย​และ​ไม่​
เปิด​เผย​ซึ่ง​จะ​ปรากฏ​เป็น​ค่า​บริหาร​จัดการ​ของ​ผู้​จัดการ​ที่​อาจ​มี​การ​ใช้​จ่าย​เกิน​ความ​เป็น​จริง​ซึ่ง​จะ​กล่าว​ถึง​ต่อ​ไป​ใน​
ทฤษฎีต​ ้นทุน​ธุรกรรม และก​ าร​สูญเ​สียโ​อกาส​จาก​การท​ ี่ต​ ้อง​แก้ไขป​ ัญหา​ในก​ ารข​ จัด​ความ​เสี่ยง​ที่เ​กิดข​ ึ้นจ​ าก​การ​บริหาร​
งาน​ของ​ผู้​จัดการ

       ปัญหาข​ ้อ​ขัด​แย้งร​ ะหว่าง​ผู้เ​ป็น​เจ้าของ​และผ​ ู้​จัดการท​ ี่​เกิดข​ ึ้น​สามารถแ​ ยกแยะ​ได้​เป็น 3 ปัญหา คือ
            1) 	ปัญหา​การ​จัดการ​ด้าน​ความ​เสี่ยง ปัญหา​เรื่อง​การ​บริหาร​ความ​เสี่ยง​เป็น​ปัญหา​ที่​เกิด​จาก “การ​ใช้​

เงิน​ของ​ผู้​อื่น” อดัม สมิธ (Adam Smith) บิดา​แห่ง​เศรษฐศาสตร์​ได้​เคย​กล่าว​ไว้​ว่า ประชาชน​มี​แนว​โน้ม​ที่​จะ​ดูแล​
ผล​ประโยชน์​ของ​ตนเอง​ด้วย​ความ​ระมัดระวัง​มากกว่า​ดูแล​ผล​ประโยชน์​ของ​ผู้​อื่น การ​ที่​ผู้​จัดการ​มี​ฐานะ​เป็น​เพียง​
ตัวแทน​ใน​การ​ดำเนิน​กิจการ​แทน​ผู้​ถือ​หุ้น​หรือ​ผู้​เป็น​เจ้าของ​ทุน​โดยที่​ไม่​ได้​เป็น​เจ้าของ​เงิน​ทุน​เอง จึง​มี​แนว​โน้ม​ที่​จะ​
ใช้​เงิน​ของ​ผู้​อื่น​ไป​ใน​การ​แสวงหา​กำไร​ใน​ระยะ​สั้น​และ​มี​ความ​เสี่ยง​สูง​หรือ​เข้า​ข่าย​ของ​การ​เก็ง​กำไร​โดย​อาศัย​เงิน​ของ
ผ​ ูอ้​ ื่น นอกจากน​ ั้นย​ ังม​ ปี​ ัญหาก​ ารข​ าดจ​ ิตสำนึกข​ องค​ วามเ​ป็นเ​จ้าของ ท​ ำใหค้​ ำนึงเ​ฉพาะผ​ ลป​ ระโยชนส์​ ่วนต​ นใ​นร​ ะยะส​ ั้น
ได้แก่ การ​ทำ​ราย​ได้​หรือ​กำไร​เพิ่ม​ขึ้น​ใน​ลักษณะป​ ี​ต่อ​ปี​มากกว่า​ที่​จะ​คำนึงถ​ ึง​เป้า​หมาย​ใน​ระยะ​ยาว จาก​ปัญหา​เหล่า​นี้​
ทำ​ให้​หลายๆ บริษัท​พยายาม​แก้ไข​ปัญหา​โดย​ให้​ผู้​จัดการ​ระดับ​สูง​มี​สถานะ​เป็น​ผู้​ถือ​หุ้น​ด้วย​แต่​มี​ข้อ​กำหนด​ว่า​ห้าม​
ขายห​ ุ้นจ​ นกว่า​จะล​ า​ออก

                             ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15