Page 9 - พฤติกรรมมนุษย์และจริยธรรมทางเศรษฐกิจและธุรกิจ
P. 9

จริยธรรม​ของอ​ งค์กร​ธุรกิจ 8-7

       ขณะเ​ดียวกันใ​นป​ ระเทศส​ หร​ าชอ​ าณาจักร ไดอ้​ อกร​ ายงานข​ อง Higges&Smith ในเ​ดือนม​ กราคม พ.ศ. 2546
เพื่อว​ าง​ระบบก​ ารป​ รับปรุงก​ าร​ดูแล​กำกับ​กิจการ​ด้วยเ​ช่น​กัน

       ความ​เคลื่อนไหว​ใน​การ​ปรับปรุง​ระบบ​การ​กำกับ​ดูแล​กิจการ​ของ​ทั้ง​สอง​ประเทศ​นับ​เป็น​จุด​เริ่ม​ต้น​สำคัญ​ที่​
นำ​ไป​สู่​การ​เคลื่อนไหว​ปรับปรุง​ระบบ​การ​กำกับ​ดูแล​กิจการ​ทั้ง​ใน​ระดับ​ประเทศ​ของ​ประ​เท​ศอื่นๆ และ​ระดับ​องค์การ​
ระหว่างป​ ระเทศต​ ามม​ า

2. ความ​หมายข​ องก​ าร​กำกบั ด​ ูแล​กิจการ

       ได้ม​ ี​ผู้​ให้ค​ วาม​หมาย​ของก​ าร​กำกับ​ดูแล​กิจการไ​ว้​ใน​ลักษณะ​ที่​แตกต​ ่างก​ ัน​หลายค​ วาม​หมาย เช่น
       เวสท์ฟาล์แ​ ละซ​ าจ​ าค (Westphal & Zajac, 1997) ได้​ให้ค​ วามห​ มายข​ อง​การ​กำกับด​ ูแล​กิจการว​ ่า​หมายถ​ ึง
“ระบบ​ที่​ธุรกิจ​ใช้​ในก​ าร​บริหารแ​ ละ​ควบคุม​กิจการ”
       ครา​คอฟ​สกี (Krakovsky, 2002) ได้ใ​ห้ค​ วาม​หมาย​ที่เ​ฉพาะ​เจาะจง​ลงไ​ปก​ ว่าน​ ั้น​ว่า​คือ หมายความถ​ ึง คณะ-​
กรรมการ​บริหาร​ซึ่ง​เป็น​ผู้​แทน​ผู้​ถือ​หุ้น​หรือ​ผู้​เป็น​เจ้าของ​โดย​ได้​กล่าว​ถึง​บทบาท​ของ​ผู้​จัดการ​ว่า​มี​บทบาท​ใน​การ​ดึงดูด​
เงิน​และ​ทุน​มนุษย์​แล้ว​นำ​มาส​ร้าง​มูลค่า​ทาง​เศรษฐกิจ​ให้​แก่​ผู้​เป็น​เจ้าของ​ทุน​หรือ​ผู้​ถือ​หุ้น​ใน​ระยะ​ยาว ขณะ​เดียวกัน​ก็​
เคารพ​ในผ​ ล​ประโยชน์​ของผ​ ู้ม​ ี​ส่วน​ได้ส​ ่วนเสีย​อื่นๆ ตลอดจ​ น​สังคม​ส่วน​รวม
       เปโ​ตร​ วค​ิ และล​ าซ​ าเ​รว​ คิ (Petrovic&Lazarevic, 2003) ไดใ​้ หค​้ วามห​ มายข​ องก​ ารก​ ำกบั ด​ แู ลก​ จิ การว​ า่ ห​ มายถ​ งึ
“การ​วาง​กฎ​เกณฑ์​ภายใน​เพื่อ​เป็น​ตัว​ชี้​ถึง​การก​ระ​จาย​สิทธิ​และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ ได้แก่ คณะ-​
กรรมการ​บริหาร ผู้เ​ป็น​เจ้าของ​ทุน และ​ผู้ม​ ีส​ ่วน​ได้​ส่วนเสีย​อื่นๆ”
       พารก์​ ินส​ ัน (Parkinson, 1994) ไดใ้​หค้​ วามห​ มายข​ องก​ ารก​ ำกับด​ ูแลก​ ิจการว​ ่าห​ มายถ​ ึง “กระบวนการด​ ูแลแ​ ละ​
ควบคุมเ​พื่อป​ ระกันว​ ่าการด​ ำเนิน​งานข​ อง​บริษัทจ​ ะเ​ป็น​ไปใ​น​ทิศทางท​ ี่​สอดคล้อง​กับผ​ ลป​ ระโยชน์​ของ​ผู้​ถือห​ ุ้น”
       คีเ​ซย์ และไ​รท์ (Keasey&Wright, 1993) ได้ใ​ห้ค​ วามห​ มายข​ องก​ ารก​ ำกับด​ ูแลก​ ิจการว​ ่าห​ มายถ​ ึง “โครงสร้าง
กระบวนการ วัฒนธรรม และ​ระบบ​ที่ท​ ำให้ก​ าร​ประกอบ​การ​ของอ​ งค์กร​ประสบผ​ ลส​ ำเร็จ”
       จิลล์ โซโลมอน (Jill Solomon, 2007) อธิบาย​คำ​ว่า “governance” ว่า​มา​จาก​คำ​ภาษา​ละติน​คำ​ว่า
“gubernare” หมาย​ถึง “to steer” หรือ การ​คัด​ท้ายหรือ​ถือหาง​เสือ ซึ่ง​ปกติ​จะ​ใช้​กับ​การ​ขับ​รถ ขณะ​ที่​คำ​ว่า
“corporate” หมายถ​ งึ การป​ ระกอบก​ จิ การใ​นล​ กั ษณะข​ องน​ ติ บิ คุ คลโ​ดยห​ วงั ก​ ำไร ดงั น​ ัน้ ค​ ำว​ า่ corporate governance
จึงม​ คี​ วามห​ มายเ​กีย่ วขอ้ งก​ ับก​ ารช​ ีน้ ำ (direct) มากกว่าก​ ารค​ วบคมุ (control) และค​ วามห​ มายข​ องก​ ารก​ ำกับด​ ูแลก​ จิ การ​
อาจแ​ บง่ อ​ อกไ​ดเ​้ ปน็ ค​ วามห​ มายอ​ ยา่ งแ​ คบซ​ ึง่ ค​ รอบคลมุ เ​ฉพาะค​ วามส​ มั พนั ธร​์ ะหวา่ งบ​ รษิ ทั แ​ ละผ​ ถู​้ อื ห​ ุน้ (shareholders)
ขณะท​ คี่​ วามห​ มายอ​ ย่างก​ ว้างจ​ ะค​ รอบคลมุ ถ​ ึงค​ วามร​ บั ผ​ ดิ ช​ อบข​ องบ​ ริษัทท​ มี​่ ตี​ อ่ ก​ ลุ่มอ​ ืน่ ๆ ดว้ ย หรอื ท​ ีเ่​รยี กว​ า่ ผ​ ูม้​ ส​ี ่วนไ​ด​้
ส่วนเสีย (stakeholders) ซึ่ง​ได้แก่ พนักงาน ผู้​บริโภค ผู้​ขาย​สินค้า ตลอด​จน​ประชาชน​ทั่วไป ซึ่ง​ตาม​ความ​หมาย​นี้​
จะ​ทำให้​การ​กำกับ​ดูแล​กิจการ​ครอบคลุม​ไป​ถึง​เรื่อง​ของ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​องค์กร​ธุรกิจ​ที่​มี​ต่อ​สังคม (Corporate
Social Responsibility: CSR) ด้วย
       สมาคม​ผู้​ตรวจ​สอบ​ภายใน​แห่ง​ประเทศไทย ได้​ให้​ความ​หมาย​ของ​การ​กำกับ​ดูแล​กิจการ​ที่​ดี​ว่า​คือ หลัก​ใน​
การ​บริหารจ​ ัดการธ​ ุรกิจ​ทุก​ประเภท ทุกขน​ าด ให้​เจริญ​เติบโตอ​ ย่าง​มั่นคง ด้วยก​ าร​สร้าง​กลไกค​ วบคุม​การ​ดำเนินง​ าน​
ของ​องค์กรใ​ห้​เป็นไ​ป​อย่างโ​ปร่งใส และเ​กิด​ความ​เป็น​ธรรมต​ ่อผู้​ถือ​หุ้น คณะ​กรรมการ ผู้​บริหาร พนักงาน คู่ค​ ้า ลูกค้า
ตลอดจ​ น​รับผ​ ิด​ชอบ​ต่อช​ ุมชน​และ​สิ่งแ​ วดล้อม
       ตลาดหลักทรัพย์​แห่งป​ ระเทศไทย ได้​ให้​คำ​จำกัด​ความข​ องค​ ำว​ ่า “การก​ ำกับด​ ูแลก​ ิจการ” ว่าค​ ือ “ระบบ​ที่​จัด​
ให้​มี​โครงสร้าง​และ​กระบวนการ​ของ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง คณะ​กรรมการ ฝ่าย​จัดการ และ​ผู้​ถือ​หุ้น เพื่อ​สร้าง​ความ​

                              ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14